Daily Archives: December 1, 2021

อุลูม อัลหะดีษ

ชีวิตอารามวาสีแบบศาสนาคริสต์ เป็นวิถีการปฏิบัติที่เริ่มวิวัฒนาการมาตั้งแต่ศาสนาคริสต์ยุคแรก โดยอาศัยแบบอย่างและอุดมคติจากคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งรวมทั้งพันธสัญญาเดิมด้วย แต่มิได้ระบุไว้อย่างเป็นทางการ จนกระทั่งมีการบัญญัติวินัยของนักบวชขึ้นเช่น วินัยของนักบุญบาซิล วินัยของนักบุญเบเนดิกต์ วินัยของนักบุญออกัสติน ตลอดจนกฎหมายศาสนจักรคาทอลิกซึ่งระบุถึงการใช้ชีวิตอารามวาสี ผู้ที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต (ชาย) และนักพรตหญิง หรือเรียกโดยรวม ๆ ว่าอารามิกชน ในสมัยแรก นักพรตไม่ใด้อาศัยในอาราม แต่เป็นฤๅษีที่อยู่โดดเดี่ยวในป่า เมื่อนักพรตเริ่มมีจำนวนมากขึ้น จึงหันมาอาศัยอยู่ร่วมกัน จนกลายเป็นชุมชนนักพรตในอารามที่ยึดถือการปฏิบัติแบบพรตนิยม

jumbo jili


ชีวิตอารามวาสี มาจากภาษากรีก “μοναχός” – “monachos” ที่มีรากมาจากคำว่า “monos” ที่แปลว่า “สันโดษ” หรือ “ผู้เดียว” หมายถึงวิถีชีวิตทางศาสนาที่นักบวชเน้นสละชีวิตทางโลกเพื่ออุทิศตนอย่างเต็มตัวในทางธรรม คำนี้ที่มาจากภาษากรีกโบราณและอาจเกี่ยวกับภิกษุซึ่งเป็นนักพรตในพุทธศาสนา ในคริสต์ศาสนา บุรุษที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต ถ้าเป็นหญิงก็เรียกว่านักพรตหญิง นักพรตทั้งชายและหญิงจะเรียกโดยรวมว่าอารามิกชน (monastics) ศาสนาอื่นต่างก็มีชีวิตอารามวาสีเป็นของตนเองโดยเฉพาะในศาสนาพุทธ และรวมทั้งลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน แต่รายละเอียดของแต่ละระบบของแต่ละศาสนาหรือแต่ละนิกายก็แตกต่างจากกันมาก

สล็อต


ศาสนาคริสต์ยุคแรก หมายถึงศาสนาคริสต์ช่วงก่อนการสังคายนาที่ไนเชียครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 325) แบ่งออกได้เป็นสองยุคย่อย คือ สมัยอัครทูตและสมัยก่อนไนเซีย ตามที่ระบุในบทแรกของหนังสือกิจการของอัครทูต คริสต์ศาสนิกชนยุคแรกเป็นชาวยิวทั้งหมด ไม่ว่าโดยกำเนิดหรือมาเข้ารีตภายหลัง จึงเรียกกลุ่มนี้ว่าคริสต์ศาสนิกชนชาวยิว การประกาศข่าวดีในสมัยนั้นเป็นแบบมุขปาฐะและใช้ภาษาแอราเมอิก หนังสือ “กิจการของอัครทูต” และ “จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย” ระบุว่าในสมัยนั้นกรุงเยรูซาเลมเป็นศูนย์กลางของคริสตชน โดยมีซีโมนเปโตร ยากอบผู้ชอบธรรม และยอห์นอัครทูต เป็นผู้ปกครองชุมชนร่วมกัน ต่อมาเปาโลซึ่งเคยเป็นปฏิปักษ์กับคริสตชนได้กลับใจมารับเชื่อ และประกาศตนเป็น “อัครทูตมายังพวกต่างชาติ” และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคริสตชนยิ่งกว่าผู้ปกครองท่านอื่น ๆ ที่ร่วมกันเขียนพันธสัญญาใหม่ ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 ศาสนาคริสต์ก็เริ่มแยกตัวออกมาจากศาสนายูดาห์อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามคริสตชนยังคงยอมรับคัมภีร์ทานัคของศาสนายูดาห์เป็นพระคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ในภาคพันธสัญญาเดิม

สล็อตออนไลน์


ในช่วงที่พันธสัญญาใหม่เพิ่งเข้าสารบบคัมภีร์ไบเบิล พระวรสารในสารบบ บทจดหมายของเปาโล และบทจดหมายของผู้ปกครองท่านอื่น ๆ เป็นที่ยอมรับมากและใช้อ่านในระหว่างการนมัสการพระเจ้าที่โบสถ์ ในคริสตจักร จดหมายของเปาโลมีอิทธิพลมากยิ่งกว่าธรรมบัญญัติของโมเสส ถึงขนาดเป็นรากฐานของเทววิทยาศาสนาคริสต์ในเวลาต่อมา อย่างไรก็ตามธรรมบัญญัติที่สำคัญ เช่น บัญญัติ 10 ประการ บัญญัติเอก คริสตนยุคแรกมีรายละเอียดความเชื่อและการปฏิบัติหลากหลายมาก ที่ถูกคริสตชนสมัยหลังกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตก็มี

jumboslot


คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ

slot

อิหม่าม

ชีวิตของพระคริสต์ เป็นฉากชุดจากชีวิตบนโลกของพระเยซูที่เป็นหัวเรื่องที่ใช้ในการเขียนภาพชุดในศิลปะศาสนาคริสต์ มักจะเป็นชุดเอกลักษณ์หรือเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระนางพรหมจารี จำนวนฉากก็ต่างกันไปตามแต่เนื้อที่ใช้วาดภาพ ลักษณะการสร้างงานก็อาจจะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมแผง หน้าต่างประดับกระจกสี เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร พรมทอแขวนผนัง งานสลักหิน งานแกะงาช้างและอื่น ๆ บางฉากก็เป็นภาพเขียนเดี่ยว ๆ เช่น “การตรึงพระเยซูที่กางเขน” ที่นิยมเขียนกันมาก ชุดที่นิยมเขียนกันก็ได้แก่ชุดที่เกี่ยวกับการประสูติและพระทรมานของพระเยซู ที่นำไปสู่การตรึงพระเยซูที่กางเขนและการคืนพระชนม์ แต่ภาพเขียนที่เกี่ยวกับการเทศนาก่อนที่จะถึงเหตุการณ์ในวาระสุดท้ายของพระองค์แทบจะไม่เขียนกันในยุคกลางด้วยเหตุผลหลายอย่าง

jumbo jili


ศิลปะคริสเตียน เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์

สล็อต


ชีวิตของพระแม่พรหมจารี หรือชีวิตของพระแม่มารี เป็นฉากชุดจากชีวิตของพระแม่มารีย์มารดาของพระเยซูที่เป็นหัวเรื่องที่ใช้เขียนภาพชุดในศิลปะคริสต์ศาสนามักจะเป็นชุดที่ประกอบกับหรือเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระเยซู จำนวนฉากก็ต่างกันไปตามแต่เนื้อที่ใช้วาดภาพ ลักษณะการเขียนก็อาจจะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมแผง หน้าต่างประดับกระจกสี หนังสือวิจิตร พรมทอแขวนผนัง งานสลักหิน งานแกะงาช้างและอื่นๆ ชีวิตของพระแม่มารีย์บางครั้งก็รวมกับภาพชุดชีวิตของพระเยซูหรือบางครั้งก็จะรวมกับฉากจากพระมหาทรมานของพระเยซู ถ้ารวมก็มักจะข้ามจากเมื่อพระเยซูยังทรงพระเยาว์ไปจนถึงตอนที่พระแม่มารีเสียชีวิต และจบด้วยฉากพบพระเยซูในหมู่นักปราชญ์ (Christ among the Doctors) ซึ่งเป็นฉากสุดท้ายของพระเยซูเมื่อยังทรงพระเยาว์

สล็อตออนไลน์


การตรึงพระเยซูที่กางเขน เป็นเหตุการณ์ในชีวิตของพระเยซูที่ถูกบันทึกในพระวรสารทั้งสี่ฉบับ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากที่พระเยซูถูกจับและถูกพิพากษา ในทางเทววิทยาศาสนาคริสต์ การสิ้นพระชนม์ของพระองค์เป็นเหตุการณ์หัวใจสำคัญ ส่งอิทธิพลให้เกิดเหตุการณ์อื่น ๆ ต่อเนื่องมา นอกจากนั้นการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ก็เป็นสัญลักษณ์สำคัญทางปรัชญาความเชื่อ เป็นการเสียชีวิตของผู้ที่มาช่วยโลก เห็นได้จากการรับทรมานและความตายของพระเมสสิยาห์เพื่อไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ตามด้วยพันธสัญญาใหม่ที่กล่าวถึง การคืนชีพในสามวันหลังจากสิ้นพระชนม์ และทรงปรากฏพระกายต่ออัครทูตก่อนพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ การทรมานและการเสียชีวิตของพระเยซูบนกางเขนมักจะเรียกกันว่า “พระทรมานของพระเยซู” (Passion) เทววิทยาศาสนาคริสต์ถือว่าพระเยซูพลีชีพเพื่อเป็นการไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ดังปรากฏในพระธรรมที่รู้จักกันในนาม “พิธีทดแทนบาป” (Substitutionary atonement) กล่าวกันว่าความตายของพระองค์ถูกทำนายไว้ล่วงหน้าในพันธสัญญาเดิม เช่น เพลงของอิสยาห์ที่กล่าวถึง การทรมานของผู้รับใช้พระเจ้า

jumboslot


การคืนพระชนม์ของพระเยซู หมายถึง เหตุการณ์สองเหตุการณ์ที่มีความสำคัญที่สุดในความเชื่อทางคริสต์ศาสนาที่เป็นพื้นฐานของปรัชญาและหลักการทางคริสต์ศาสนวิทยา ตามพันธสัญญาใหม่พระเยซูผู้เป็นหัวใจของคริสต์ศาสนาถูกตรึงกางเขน, สิ้นพระชนม์, ถูกนำไปไว้ในที่เก็บศพ, และทรงคืนพระชนม์สามวันหลังจากนั้น พันธสัญญาใหม่ยังกล่าวถึงการคืนพระชนม์และการสำแดงพระองค์ของพระเยซูคริสต์อีกหลายครั้งต่ออัครสาวกสิบสององค์ และสาวกคนอื่น ๆ รวมทั้ง “พี่น้องอีกห้าร้อยคนพร้อมกัน” ก่อนที่จะเสด็จขึ้นสวรรค์ เหตุการณ์สำคัญสองเหตุการณ์นี้ฉลองกันระหว่างวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ และ อีสเตอร์

slot

อิสลามศึกษา

จดหมายของนักบุญยากอบ (อังกฤษ: Epistle of James) เป็นหนังสือเล่มที่ 20 ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายทั่วไป อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสตชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด

jumbo jili


หนังสือเล่มนี้เดิมเป็นจดหมายของท่านยากอบ ซึ่งน่าจะเป็นยากอบผู้ชอบธรรม น้องชายของพระเยซู ในช่วงก่อนการตรึงพระเยซูที่กางเขน ยากอบไม่เพียงแต่ไม่ได้เชื่อในพระเยซูเท่านั้น แต่ยังไม่เข้าใจและท้าทายในสิ่งที่พระเยซูทรงทำอีกด้วย ต่อมาภายหลังการคืนพระชนม์ของพระเยซู ท่านยากอบจึงกลับใจเชื่อและกลายเป็นผู้นำคริสตจักรคนสำคัญในกรุงเยรูซาเลม เนื้อหาในจดหมายเป็นเรื่องเกี่ยวกับชาวยิวอย่างเด่นชัด ไม่ได้กล่าวถึงการกลับใจของชาวต่างชาติ ดังนั้นจึงพอจะคาดได้ว่า จดหมายฉบับนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นในช่วงที่ยิวมีอำนาจเหนือคริสตจักร ซึ่งก็จะอยู่ในราวปีค.ศ. 48 – 50

สล็อต


ในฐานะผู้นำคริสตจักรในกรุงเยรูซาเล็ม ท่านยากอบเขียนจดหมายฉบับนี้ เหมือนเป็นบาทหลวงสั่งสอนและปลุกใจผู้ที่กำลังทนทุกข์ยาก ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในแผ่นดิน เนื้อหาในจดหมายกล่าวถึง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับความเชื่อคริสเตียนและคำแนะนำในการดำเนินชีวิตประจำวัน ท่านยากอบเขียนอย่างตรงไปตรงมา เน้นที่การปฏิบัติให้ถูกต้องเพื่อจะแก้ไขข้อผิดพลาด และไม่มีการประนีประนอม ทำให้พระธรรมเล่มนี้มีพลังและเข้าใจได้ไม่ยาก จุดประสงค์ของหนังสือ ยากอบ มีอยู่ 4 ประการ ประการแรกคือ ต้องการเปรียบเทียบคนฝ่ายจิตวิญญาณแท้และปลอม โดยกล่าวว่าผู้ที่มีจิตวิญญาณแท้จะแสดงออกเป็นการกระทำในทางบวก แต่ผู้ที่มีจิตวิญญาณปลอมจะเป็นตรงกันข้าม ตัวอย่างที่ท่านยากอบกล่าวถึงคือ การปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกันต่อผู้ที่มีฐานะร่ำรวยและยากจน เป็นต้น

สล็อตออนไลน์


ประการที่สองคือ ต้องการให้ปฏิบัติตนให้ถูกต้อง พอจะแบ่งย่อยได้ 2 ส่วนคือ ส่วนของตนเอง เช่น การระมัดระวังเรื่องการพูด ซึ่งท่านยากอบถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมาก ท่านยากอบกล่าวว่า ลิ้นเป็นอวัยวะที่ไม่สามารถเลี้ยงให้เชื่องได้ ส่วนที่สองคือ ส่วนการปฏิบัติต่อผู้อื่น เช่น อย่าใส่ร้ายหรือตัดสินผู้อื่น มีแต่พระเจ้าเท่านั้นที่เป็นผู้พิพากษา ประการที่สามคือ ต้องการให้วางใจในพระเจ้า ท่านยากอบเปรียบชีวิตของมนุษย์ว่า เป็นเหมือนหมอกที่ปรากฏอยู่ชั่วครู่แล้วก็หายไป จึงต้องการให้วางใจในพระเจ้า ไม่ใช่ทรัพย์สินเงินทองที่มีอยู่ ซึ่งอาจจะสูญหายหรือผุพังไปเมื่อใดก็ได้ ประการสุดท้ายคือ ต้องการให้อดทนและอธิษฐาน ท่านยากอบเปรียบกับชาวนาที่ได้ปลูกข้าวแล้วรอฝนตก อาจยากลำบากในช่วงแรกแต่เมื่อข้าวออกรวงแล้วจะเป็นผลที่ล้ำค่า ในระหว่างที่อดทนรอนั้น หากทนทุกข์ให้อธิษฐาน หากร่าเริงยินดีให้ร้องเพลงสรรเสริญซึ่งท่านยากอบได้ยกตัวอย่างท่านเอลียาห์ในเรื่องการอธิษฐานขอฝนและห้ามฝน

jumboslot


ยากอบ ผู้ได้รับสมัญญาว่าผู้ชอบธรรม เปาโลอัครทูตเรียกท่านว่าพี่/น้องขององค์พระผู้เป็นเจ้า แม้จะไม่ใช่อัครทูต แต่ก็มีบทบาทสำคัญในคริสตจักรยุคแรก ๆ จนได้รับเลือกเป็นผู้ปกครองดูแลคริสตจักรในกรุงเยรูซาเลมเป็นคนแรก เชื่อว่าเป็นผู้เขียนจดหมายของนักบุญยากอบ และเป็นคนละคนกับยากอบ บุตรเศเบดี ชาวคาทอลิกเชื่อว่าท่านเป็นคนเดียวกันกับอัครทูตยากอบ บุตรอัลเฟอัส

slot

อิจญ์ติฮาด

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโคโลสี เรียกโดยย่อว่าพระธรรมโคโลสี เป็นเอกสารฉบับที่ 12 ของคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ จากหลักฐานต่าง ๆ ที่มีอยู่เชื่อได้ว่า ผู้เขียนพระธรรมเล่มนี้คือ นักบุญเปาโล ซึ่งเดิมพระธรรมเล่มนี้เป็นจดหมายที่นักบุญเปาโลเขียนถึงคริสตจักรในเมืองโคโลสี อันเป็นจดหมายที่ถูกเขียนขึ้นในขณะที่นักบุญเปาโลติดคุกอยู่ในกรุงโรม เช่นเดียวกันกับพระธรรม เอเฟซัส ฟิลิปปี และ ฟีเลโมน เพราะนักบุญเปาโลเขียนไว้ในจดหมายว่า “และอธิษฐานเผื่อเราด้วย เพื่อพระเจ้าจะได้โปรดเปิดประตูไว้ให้เราสำหรับพระวาทะนั้น ให้เรากล่าวความล้ำลึกของพระคริสต์ (ที่ข้าพเจ้าถูกจำจองอยู่ก็เพราะเหตุนี้)” โดยที่ โคโลสี น่าจะถูกเขียนขึ้นราวปีค.ศ. 60

jumbo jili


แม้ว่านักบุญเปาโลจะเคยเดินทางไปประกาศข่าวประเสริฐที่เมืองเอเฟซัส และได้ใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นระยะเวลาหนึ่ง แต่ก็ไม่มีหลักฐานใดยืนยันได้ว่า นักบุญเปาโลเคยไปยังเมือง โคโลสี ซึ่งเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ใกล้กันกับเมืองเอเฟซัสมาก่อน และก็น่าจะเชื่อได้ว่า นักบุญเปาโลไม่เคยเดินทางไปยังเมืองนี้จริง ๆ ดังที่ปรากฏข้อความในจดหมายฉบับนี้ว่า “เพราะข้าพเจ้าใคร่ให้ท่านรู้ว่าข้าพเจ้าสู้อุตส่าห์มากเพียงไรเพื่อท่าน เพื่อชาวเมืองเลาดีเซีย และเพื่อคนทั้งปวงที่ยังไม่เห็นหน้าของข้าพเจ้า” แม้ว่าจะไม่เคยไป แต่นักบุญเปาโลก็รู้จักบางคนที่นั่น เช่น อารคิปปัส[4] และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เอปาฟรัส ชาวโคโลสีผู้ซึ่งได้เดินทางมายังเมืองเอเฟซัส ได้ยินข่าวประเสริฐจากนักบุญเปาโล จนกลับใจเป็นคริสเตียน แล้วเดินทางกลับไปประกาศข่าวประเสริฐยังเมือง โคโลสี ของตน

สล็อต


หลังจากข่าวประเสริฐถูกประกาศไปในเมือง โคโลสี ก็เริ่มมีคริสเตียนเกิดขึ้น จนมีการตั้งคริสตจักร แต่ในเวลาไม่นาน ผู้ที่ไม่เชื่อได้เริ่มต่อต้าน และผู้เชื่อใหม่บางคนก็กลับไปประพฤติตามโลกียวิสัยเดิม เอปาฟรัสจึงเดินทางมาหานักบุญเปาโลซึ่งกำลังติดคุกอยู่ที่กรุงโรม เล่าเรื่องราวต่าง ๆ ให้ฟังและเป็นที่มาของการเขียนจดหมายฉบับนี้ขึ้น ในบรรดาจดหมายที่นักบุญเปาโลได้เขียนไปถึงคริสตจักรในเมืองต่าง ๆ นั้น โคโลสี นับว่าเป็นจดหมายที่แปลกมาก เพราะในขณะที่เขียนจดหมายฉบับนี้ นักบุญเปาโลทราบแต่เพียงว่า จะส่งไปให้บรรดาคริสเตียนในเมือง โคโลสี อ่าน แต่ยังไม่ทราบว่าจะเป็นใครบ้าง เนื่องจากไม่เคยพบกันมาก่อน ด้วยเหตุนี้นักบุญเปาโลจึงเลือกใช้ข้อความที่เป็นทางการ แตกต่างไปจากจดหมายฉบับอื่น ๆ ที่แสดงความรู้สึกส่วนตัวบ้าง

สล็อตออนไลน์


เนื้อหาหลักที่อยู่ในพระธรรมเล่มนี้คือ “ความสมบูรณ์ของพระคริสต์” นักบุญเปาโลต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจว่า ในพระเยซู ทุกอย่างสมบูรณ์แบบและเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องพึ่งพาปรัชญาหรือคำสอนของมนุษย์อื่นใดอีก ดังที่เขียนไว้ว่า “เพราะว่าในพระองค์นั้น สภาพของพระเจ้าดำรงอยู่อย่างบริบูรณ์” จุดประสงค์หลักในพระธรรมเล่มนี้ที่นักบุญเปาโลต้องการจะสื่อถึงผู้อ่าน มีอยู่ 2 ประการ หนึ่งคือ ต้องการให้ผู้อ่านมั่นคงอยู่ในความเชื่อตามหลักของพระเยซู อย่าถูกล่อลวงไปตามคำสอนของมนุษย์ เช่น “จงระวังให้ดี อย่าให้ผู้ใดทำให้ท่านตกเป็นเหยื่อด้วยหลักปรัชญา และด้วยคำล่อลวงอันเหลวไหลตามตำนานของมนุษย์ ตามวิญญาณต่าง ๆ แห่งสากลจักรวาล ไม่ใช่ตามพระคริสต์” หรือกลับไปประพฤติตามวิถีชีวิตเดิมตามทางโลก เช่น “ถ้าท่านตายกับพระคริสต์พ้นจากวิญญาณต่าง ๆ แห่งสากลจักรวาลแล้ว เหตุไฉนท่านจึงมีชีวิตอยู่เหมือนกับว่าท่านยังอยู่ฝ่ายโลก ยอมอยู่ใต้บัญญัติต่าง ๆ อันเป็นหลักธรรมและคำสอนของมนุษย์” เป็นต้น
ประการที่สองคือ ต้องการให้ผู้อ่านทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตนเป็นคริสเตียนที่ดี ทิ้งการประพฤติตามโลกียวิสัยเดิม ในส่วนนี้ นักบุญเปาโลได้เขียนไว้ละเอียด แต่สามารถสรุปได้ว่า “เพราะว่าท่านได้ปลดวิสัยมนุษย์เก่ากับการปฏิบัติของมนุษย์นั้นเสียแล้ว และได้สวมวิสัยมนุษย์ใหม่ ที่กำลังทรงสร้างขึ้นใหม่ตามพระฉายของพระองค์ผู้ทรงสร้าง ให้รู้จักพระเจ้า”

jumboslot


นักบุญเปาโลอัครทูต หรือนักบุญเปาโลแห่งทาร์ซัส เป็น “อัครทูตถึงชนต่างชาติ” พร้อมกับนักบุญเปโตรและนักบุญยากอบผู้ชอบธรรม เป็นมิชชันนารีที่สำคัญที่สุดในศาสนาคริสต์ยุคแรก แต่ไม่เคยพบพระเยซูดังเช่นอัครทูตท่านอื่น ๆ ไม่มีหลักฐานใดที่กล่าวว่านักบุญเปาโลเคยพบพระองค์ด้วยตนเองก่อนที่จะถูกตรึงกางเขน ตามที่กล่าวใน “กิจการของอัครทูต” นักบุญเปาโลมานับถือศาสนาคริสต์ระหว่างที่เดินทางไป ดามัสกัส จากการที่ได้เห็นพระเยซูผู้ฟื้นคืนพระชนม์ นักบุญเปาโลกล่าวว่าท่านมิได้รับพระวจนะจากมนุษย์แต่ได้รับจากพระเยซูโดยตรง กล่าวกันว่าพันธสัญญาใหม่สิบสี่บทหรือที่เรียกว่าจดหมายของนักบุญเปาโล เขียนโดยท่านเอง แต่ใครเป็นผู้เขียนจริงก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ นักบุญเปาโลมักจะบอกให้ช่างเขียน (amanuensis) เขียน นาน ๆ จึงเขียนด้วยตนเอง การรับรองว่าข้อเขียนเป็นของแท้ ผู้เขียนจดหมาย มักจะใช้ย่อหน้าที่แสดงให้เห็นว่าเป็นลายมือของนักบุญเปาโลเอง จดหมายเหล่านี้ใช้เผยแพร่ในชุมชนผู้นับถือคริสต์ศาสนา จดหมายของนักบุญเปาโลเป็นเอกสารที่สำคัญในพันธสัญญาใหม่ และในที่สุดก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายศาสนจักร จดหมายของนักบุญเปาโลเชื่อกันว่าเป็นเอกสารฉบับแรกที่สุดของพันธสัญญาใหม่

slot

อัลลอฮ์

ลัทธิคาลวิน (อังกฤษ: Calvinism) ขนบปฏิรูป (Reformed tradition) หรือ เทววิทยาปฏิรูป เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่ถือแนวคำสอนและการปฏิบัติตามการตีความของฌ็อง กาลแว็ง และนักเทววิทยาอื่น ๆ ช่วงการปฏิรูปศาสนา ลัทธิคาลวินแตกหักกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก จึงนับเป็นฝ่ายโปรเตสแตนต์ แต่ก็ต่างจากโปรเตสแตนต์สายอื่น ๆ เช่น ลูเทอแรน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น พระเยซูในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ หลักบังคับในการนมัสการ การบังคับใช้กฎของพระเจ้ากับคริสตชน การเรียกเทววิทยาสายนี้ว่า “ลัทธิคาลวิน” ค่อนข้างคลาดเคลื่อน เพราะในความเป็นจริง เป็นเทววิทยาที่มีแนวคิดหลากหลาย ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับฌ็อง กาลแว็งผู้ก่อตั้งเพียงคนเดียว นักเทววิทยากลุ่มนี้ถูกฝ่ายลูเทอแรนเรียกว่า “ลัทธิคาลวิน” แต่ในภายในสายมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป มากกว่า นับแต่มีการโต้แย้งอาร์มิเนียน ฝ่ายปฏิรูปก็แบ่งออกเป็นสองสาย คือ สายคาลวิน และ สายอาร์มิเนียน แต่ปัจจุบันมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป ในเชิงไวพจน์กับลัทธิคาลวินมากกว่า

jumbo jili


นักเทววิทยาสายปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญในยุคต้น ๆ ได้แก่ ฌ็อง กาลแว็ง มาร์ทิน บูเคอร์ ไฮน์ริช บุลลิงเงอร์ และปีเอโตร มาร์ตีเร แวร์มิกลี จุดเด่นของลัทธิคาลวินมีอยู่ 5 ประเด็น ที่เป็นที่รู้จักที่สุดคือความเชื่อเรื่องเทวลิขิตและมนุษย์เสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง ประเด็น 5 ข้อของลัทธิคาลวิน (5 Points of Calvinism; TULIP) ได้แก่
1 ความเสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง (Total Depravity) – เชื่อในหลักเรื่องบาปกำเนิด ว่ามนุษย์โดยธรรมชาติเป็นคนชั่วร้ายหมด จึงไม่มีใครจะถึงความรอดได้เอง
2 การทรงเลือกโดยปราศจากเงื่อนไข (Unconditional Election) – พระเจ้าได้เลือกผู้ที่จะได้อยู่บนสวรรค์และอยู่ในนรกไว้แล้ว ความเชื่อ การกระทำใด ๆ ก็ตาม ไม่มีผลต่อความรอด ด้วยเหตุผลตามข้อแรก
3 การไถ่บาปอย่างจำกัด (Limited Atonement) – พระทรมานของพระเยซูเป็นไปเพื่อผู้ที่ถูกเลือกให้อยู่บนสวรรค์แล้วเท่านั้น ไม่รวมถึงผู้ที่ไม่ได้ทรงเลือก
4 พระคุณที่ไม่อาจขัดขวางได้ (Irresistable Grace) – การที่ผู้เชื่อเริ่มเชื่อในพระเจ้าไม่ได้เป็นเพราะผู้นั้น แต่เป็นเพราะพระเจ้า
5 การทรงพิทักษ์รักษาวิสุทธิชน (Perseverance of the Saints) – เมื่อเป็นธรรมิกชนได้รับความรอดแล้ว ก็จะได้รับความรอดตลอดไป ไม่มีเสื่อม

สล็อต


ฌ็อง กาลแว็ง (ฝรั่งเศส: Jean Calvin) หรือจอห์น คาลวิน (อังกฤษ: John Calvin) เป็นนักเทววิทยาศาสนาคริสต์และศิษยาภิบาลชาวฝรั่งเศสสมัยการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ แนวคิดทางเทววิทยาที่กาลแว็งพัฒนาขึ้นเรียกว่าลัทธิคาลวิน ซึ่งแพร่หลายอยู่ในหลายนิกาย เช่น คริสตจักรปฏิรูป คริสตจักรคองกริเกชันแนล เพรสไบทีเรียน เป็นต้น เดิมกาลแว็งเป็นนักกฎหมายที่มีแนวคิดแบบมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และได้ถอนตัวออกจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี ค.ศ. 1530 เมื่อเกิดการต่อต้านนิกายโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศส กาลแว็งก็ลี้ภัยไปอาศัยที่เมืองบาเซิล ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และได้พิมพ์เผยแพร่ผลงานสำคัญคือหนังสือ “สถาบันศาสนาคริสต์” เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1539 ในปีนั้นกีโยม ฟาแรล ได้ชวนกาลแว็งมาร่วมผลักดันการปฏิรูปศาสนาที่เมืองเจนีวาด้วย แต่สภานครเจนีวาไม่ยอมรับแนวคิดของทั้งสองและขับทั้งสองคนออกจากเมือง จากนั้นมาร์ทิน บูเชอร์ ได้เชิญกาลแว็งไปเป็นศาสนาจารย์ประจำโบสถ์ของผู้อพยพชาวฝรั่งเศสที่เมืองสตราสบูร์ก เขายังคงสนับสนุนการปฏิรูปศาสนาที่เจนีวา จนได้รับเชิญกลับไปเป็นผู้นำคริสตจักรในที่สุด
การปฏิรูปศาสนาคริสต์ตามแนวของกาลแว็งมีทั้งด้านการปกครองคริสตจักร พิธีกรรม และเน้นหลักความเชื่อเรื่องเทวลิขิต เรื่องพระเป็นเจ้าทรงมีอธิปไตยสมูรณ์ในการประทานความรอดจากความตายให้แก่วิญญาณของมนุษย์ และการลงโทษนิรันดร์

สล็อตออนไลน์


เทววิทยาศาสนาคริสต์ คริสต์เทววิทยา หรือศาสนศาสตร์ คือเทววิทยาที่เกี่ยวกับความเชื่อในศาสนาคริสต์ นักเทววิทยาศาสนาคริสต์ใช้เหตุผลทางการวิจัยและการถกเพื่อทำความเข้าใจ อธิบาย ทดสอบ วิจารณ์ประเด็น ป้องกันและเผยแพร่คริสต์ศาสนา เป็นการศึกษาเพื่อเพิ่มความเข้าใจต่อศาสนาคริสต์ เพื่อเปรียบเทียบคริสต์ศาสนากับประเพณีหรือความเชื่อถืออื่น ๆและเพื่อป้องกัน กล่าวโต้ต่อนักวิจารณ์ ช่วยในการปฏิรูปศาสนา มีความเข้าใจในคริสต์ศาสนาพอที่จะสามารถนำเอาความเข้าใจนั้นมาทำความเข้าใจในสถานะการณ์ปัจจุบันตามความจำเป็น เทววิทยาศาสนาคริสต์เผยแพร่เข้ามาในวัฒนธรรมตะวันตกโดยเฉพาะวัฒนธรรมยุโรปก่อนสมัยใหม่ ความเกี่ยวพันกันระหว่างปรัชญาสองอย่างนี้ทำให้ผู้ต้องการทำความความเข้าใจในเทววิทยาศาสนาคริสต์จำเป็นต้องเข้าใจในวัฒนธรรมตะวันตกด้วยในขณะเดียวกัน

jumboslot


การปฏิรูปศาสนา อาจหมายถึงการปฏิรูปทางศาสนาคริสต์ที่สำคัญๆในประวัติศาสตร์ยุโรป ซึ่งมีหลายครั้ง ได้แก่
การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ คือขบวนการที่เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี ค.ศ. 1517 เพื่อแก้ไขความเสื่อมโทรมของนิกายโรมันคาทอลิก และสถาบันสันตะปาปา มาเสร็จสิ้นลงด้วยสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ค.ศ. 1648ผลจากการปฏิรูปคือการแยกตัวจากนิกายคาทอลิกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์
การปฏิรูปคาทอลิก คือการปฏิรูปศาสนาของนิกายโรมันคาทอลิก ที่เป็นปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์
การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ (English Reformation) คือเหตุการณ์ที่นำไปสู่การแยกตัวของ ”Church of England” จากนิกายโรมันคาทอลิก นำโดย พระเจ้าเฮนรีที่ 8
การปฏิรูปศาสนาแอนนาแบ็บทิสต์ (Radical Reformation) คือขบวนการปฏิรูปศาสนาที่เกิดพร้อมๆกับการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ เมื่อศตวรรษที่ 16 เริ่มโดยชนชั้นชาวนาที่ประเทศเยอรมันีและประเทศทางตอนเหนือขอวทวีปยุโรป
การปฏิรูปสถาบันศาสนาคริสต์ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและศาสนาที่มีผลกระทบกระเทือนต่อระบบการปกครองและ/หรือ สิ่งก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ของคริสต์ศาสนจักรเท่านั้น มิใช่ความหมายโดยทั่วไปของคำว่า “Secularization” ซึ่งจะหมายถึงการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร
และอาจจะหมายถึงการปฏิรูปศาสนาอื่น ๆ ได้อีก

slot

อัลกาฟี

คณะคาร์ทูเซียน หรือ คณะนักบุญบรูโน (Order of St. Bruno) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่ตั้งชื่อตามนักบุญบรูโนแห่งโคโลญ ผู้ตั้งคณะนี้ขึ้นในปี ค.ศ. 1084 คณะคาร์ทูเซียนเป็นคณะนักบวชอารามิกประจำเขตพรต สมาชิกมีทั้งนักพรตชายและนักพรตหญิงมาอยู่ร่วมกันและปฏิบัติตามวินัยของตนเองแทนที่จะถือ “วินัยของนักบุญเบเนดิกต์” (Rule of St Benedict) อย่างคณะนักบวชอารามิกอื่น ๆ นักพรตคาร์ทูเซียนถือวัตรปฏิบัติที่ผสมผสานการดำรงชีวิตอย่างสันโดษแบบฤๅษี (Hermit) กับการอยู่ร่วมกันเป็นประชาคมนักพรต (Cenobite)
ในภาษาอังกฤษคำว่า “Carthusian” แผลงมาจากคำว่า “Chartreuse Mountains” หรือ “เทือกเขาชาร์ทรูส” ที่นักบุญบรูโนได้ทำการสร้างอารามขึ้นเป็นแห่งแรกในหุบเขาในบริเวณเทือกเขาแอลป์ฝรั่งเศส ในภาษาอังกฤษคำว่า “Charterhouse” ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกอารามคาร์ทูเซียนมาจากคำคำเดียวกัน อารามคาร์ทูเซียนเรียกเป็นภาษาต่าง ๆ แตกต่างกัน

jumbo jili


ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก คณะนักบวช หรือ สถาบันนักบวช เป็นสถาบันชีวิตที่ถวายแล้วประเภทหนึ่ง สมาชิกประกอบด้วยชาวคาทอลิกที่สละชีวิตทางโลกมาถือคำปฏิญาณของนักบวชตลอดชีวิต เพื่ออุทิศตนทำงานรับใช้พระศาสนจักรเพียงอย่างเดียว และอยู่รวมกันเป็นคณะ โดยแต่ละคณะมีแนวทางการทำงานและเน้นวัตรปฏิบัติแตกต่างกันไป
นอกจากเรียกว่า “คณะนักบวช” แล้ว ราชบัณฑิตยสถานยังใช้คำว่า คณะนักพรต และ คณะนักบวชถือพรต โดยถือว่ามีความหมายเดียวกัน ส่วนประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ค.ศ. 1983 ฉบับภาษาไทย ใช้คำว่า คณะสถาบันนักพรต

สล็อต


ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ค.ศ. 1917 จำแนกคณะนักบวชไว้ 2 ประเภท ได้แก่
คณะนักบวชที่ถือคำปฏิญาณแบบสง่า เรียกว่า order มี 4 ประเภท ได้แก่
1คณะแคนันเรกิวลาร์ (Order of Canons Regular) สมาชิกประกอบด้วยแคนัน เช่น คณะแคนันออกัสติเนียน
2คณะนักบวชอารามิก (Monastic Order) สมาชิกประกอบด้วยนักพรต เช่น คณะเบเนดิกติน คณะคาร์ทูเซียน
3คณะนักบวชภิกขาจาร (Mendicant order) สมาชิกประกอบด้วยไฟรเออร์ เช่น ภราดาคณะฟรันซิสกัน ภราดาคณะดอมินิกัน
4คณะบาทหลวงเรกิวลาร์ (Order of Clerics Regular) สมาชิกประกอบด้วยบาทหลวง เช่น คณะเยสุอิต คณะคามิลเลียน
คณะนักบวชที่ถือคำปฏิญาณแบบธรรมดา เรียกว่า congregation มี 2 ประเภท ได้แก่
1คณะนักบวชบาทหลวง (Clerical Religious Congregation) เช่น คณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโก คณะพระมหาไถ่
2คณะนักบวชฆราวาส (Lay Religious Congregation) เช่น คณะภราดาเซนต์คาเบรียล คณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร

สล็อตออนไลน์


ชายหรือหญิงที่ปรารถนาจะเข้าเป็นนักบวชไม่ว่าสังกัดในคณะใด ต้องติดต่อกับคณะนั้น โดยทั่วไปนักบวชจะต้องปฏิญาณตน 3 ข้อเป็นพื้นฐาน คือ 1. เชื่อฟังผู้บังคับบัญชา (คืออธิการคณะ) 2. ถือโสดตลอดชีวิต 3. ไม่ถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินใด ๆ นอกจาก 3 ข้อนี้แล้วผู้สมัครยังต้องปฏิญาณข้ออื่น ๆ อีกตามแต่ละคณะจะกำหนดไว้ และยังต้องรักษาวินัยประจำคณะ (religious rule) ซึ่งจะแตกต่างกันไปอีกเช่นกัน วินัยเหล่านี้เป็นที่อนุมัติของสันตะสำนัก เมื่อตัดสินใจเข้าคณะ ขั้นแรก ผู้สมัครจะต้องรับการอบรมในฐานะโปสตูลันต์ (postulant) เพื่อฝึกการปฏิบัติศาสนกิจ ระยะเวลาขึ้นอยู่กับการอบรมของแต่ละคณะ บางคณะก็แค่อาทิตย์เดียว บางคณะกำหนดขั้นตํ่า 6 เดือน หรือ 1 ปี แต่ส่วนมากจะไม่เกินสองปี ในชั้นโปสตูลันต์นี้ไม่มีกำหนดระยะเวลาในกฏหมายพระศาสนจักร แต่ละคณะฯสามารถวางแผนการอบรมในขั้นนี้ได้เอง ในขั้นนี้ยังไม่ถือว่าเป็นนักบวช ขั้นต่อมา ก็ต้องเข้าอบรมเป็นโนวิซ (novice) เพื่อศึกษาจิตตารมณ์ของคณะนักบวชนั้นๆอย่างเข้มข้น ภายใต้การดูแลของนวกจารย์ ระยะเวลาในขั้นโนวิชนี้ ต้องไม่น้อยกว่า 12 เดือน แต่ต้องไม่เกิน 2 ปี ในขั้นนี้จะถือว่าเป็นขั้นทดลองฝึกเป็นนักบวช ยังไม่ได้เป็นนักบวชเต็มตัว

jumboslot


ขั้นต่อมา เมื่อครบแล้วจึงขอปฏิญาณตนเป็นสมาชิกของคณะ การปฏิญาณจะทำ 2 ครั้ง ครั้งแรกเป็นการปฏิญาณเพื่อถวายตัวชั่วคราว โดยในขั้นนี้ผู้รับการอบรมจะต้องต่อคำปฏิญาณตนทุกปี โดยขั้นนี้ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 3 ปี แต่ไม่เกิน 6 ปี เมื่อครบกำหนดแล้วผู้สมัครมั่นใจและมีความพร้อมจะเป็นนักบวชได้ตลอดชีพก็จะทำการปฏิญาณตนอีกครั้งเพื่อถวายตัวตลอดชีพ ในขั้นนี้หลังจากการปฎิญาณตนแล้วจะถือว่าเป็นนักบวชแล้ว เมื่อเป็นนักบวชในคณะโดยสมบูรณ์แล้ว นักบวชจะต้องปฏิบัติศาสนกิจในสังกัดคณะตลอด ยกเว้นได้รับอนุมัติเป็นกรณีพิเศษจากผู้ปกครองคณะฯให้สามารถดำเนินชีวิตนอกหมู่คณะได้ แต่ถ้าหากละเมิดวินัยอย่างร้ายแรงก็อาจถูกขับออกจากคณะ ส่วนคณะก็ต้องรับผิดชอบความเป็นอยู่ของนักบวชในทุกด้าน ทั้งที่พักอาศัย (ซึ่งนักบวชจะต้องอาศัยอยู่ร่วมกันในอาราม หรือบ้านพักของคณะ) ค่ารักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย เป็นต้น

slot