อาร์เตมิส (กรีกโบราณ: Ἄρτεμις) หรือ อาร์ทิมิส (อังกฤษ: Artemis) เป็นหนึ่งในเทพีกรีกโบราณที่มีการบูชาแพร่หลายที่สุด เปรียบได้ดั่งเทพีไดแอนาของโรมัน นักวิชาการเชื่อว่าทั้งพระนาม รวมทั้งองค์เทพเจ้าเอง เดิมมีมาแต่ก่อนสมัยกรีก ชาวอาร์คาเดียเชื่อว่าพระนางทรงเป็นพระธิดาของดิมีเทอร์ ในเทพปกรณัมกรีกสมัยคลาสสิก มักอธิบายว่าอาร์เตมิสทรงเป็นพระธิดาของซูสและลีโต และทรงเป็นน้องสาวฝาแฝดของอะพอลโล พระองค์เป็นพระเจ้าแห่งการล่า สัตว์ป่า ป่าเถื่อน (wilderness) การคลอด พรหมจรรย์และผู้พิทักษ์หญิงสาว ผู้นำพามาซึ่งและผู้บรรเทาโรคในหญิง มักพรรณนาพระนางเป็นพรานหญิงถือธนูและลูกศรและเป็นเทพีแห่งดวงจันทร์ กวางและต้นไซปรัสเป็นสัตว์และพืชศักดิ์สิทธิ์ของพระนาง วัยเด็กของอาร์เตมิสไม่สัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ในเรื่องปรัมปราใด ๆ ที่เหลือรอด อีเลียดลดบุคลิกของเทพเจ้าผู้น่ากลัวลงเป็นบุคลิกของเด็กหญิงซึ่งร้องไห้และปีนพระเพลา (ตัก) ของซูส หลังถูกฮีราโบย โคลงของแคลิมะคัส (Callimachus) ว่าด้วยเทพเจ้า “ผู้ทำให้พระองค์เองสนุกบนภูเขาด้วยการยิงธนู” จินตนาการบรรณพิลาส (vignette) ที่มีเสน่ห์บางอย่าง ตามแคลิมะคัส อาร์เตมิสขณะมีพระชนมายุได้สามพรรษา ทูลขอให้ซูสประทานพรพระนางหกข้อ ได้แก่ ให้พระนางครองพรหมจรรย์ตลอดกาล, ให้พระนางมีหลายนามเพื่อแยกกับพระอนุชา อะพอลโล, ให้ทรงเป็นผู้นำมาซึ่งแสงสว่าง, ขอธนูและลูกธนู กับฉลองพระองค์คลุมรัดเอวเสมอพระชานุ (เข่า) เพื่อที่พระนางจะได้ล่าสัตว์, ขอ “ธิดาแห่งโอเซียเนิส” หกสิบตน ซึ่งทุกตนอายุได้ 9 ปี เพื่อเป็นนักร้องประสานเสียงของพระนาง, และขอนิมฟ์แอมนิซิเดส (Amnisides) ยี่สิบตนเป็นสาวใช้คอยเฝ้าหมาและธนูของพระนางระหว่างที่ทรงพักผ่อน พระนางไม่ประสงค์ให้มีนครใดอุทิศแด่พระนาง แต่ประสงค์ปกครองภูเขา และความสามารถช่วยหญิงในความเจ็บปวดแห่งการคลอด
อาร์เตมิสทรงเชื่อว่าพระนางถูกมอยเร (โชคชะตา) เลือกให้เป็นนางผดุงครรภ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพราะพระนางช่วยพระชนนีคลอดพระอนุชาฝาแฝด อะพอลโล พระสหายของพระนางล้วนครองพรหมจรรย์ และอาร์เตมิสทรงระวังพรหมจรรย์ของพระนางเองอย่างใกล้ชิด สัญลักษณ์ของพระนางมีธนูและลูกศรสีทอง หมาล่าเนื้อ กวาง และดวงจันทร์ แคลิมะคัส เล่าว่าอาร์เตมิสทรงใช้วัยเยาว์แสวงสิ่งที่พระนางจำเป็นต้องมีเพื่อเป็นพรานหญิงอย่างไร พระนางได้ธนูและลูกศรมาจากเกาะลิพารา (Lipara) ที่ซึ่งฮิฟีสตัสและไซคลอปส์ทำงานได้อย่างไร ธิดาของโอเซียเนิสเปี่ยมไปด้วยความกลัว แต่อาร์เตมิสในวัยเยาว์เข้าหาอย่างกล้าหาญและขอธนูและลูกธนู แคลิมะคัสเล่าต่อว่าอาร์เตมิสพบแพน พระเจ้าแห่งป่าซึ่งให้หมาตัวเมียเจ็ดตัวและหมาตัวผู้หกตัว ได้อย่างไร จากนั้น พระนางจับกวางเขาทองเพื่อลากรถเทียมของพระนาง อาร์เตมิสฝึกธนูโดยยิงต้นไม้ก่อนแล้วจึงยิงสัตว์ป่า โอไรออน เตมิสเป็นที่สนใจของพระเจ้าและชายทั้งหลาย แต่มีเพียงพระสหายล่าสัตว์ โอไรออน ที่พิชิตพระพฤทัยของพระนางได้ บางฉบับเล่าว่า เขาถูกอาร์เตมิสฆ่า บ้างก็เล่าว่าเขาถูกแมงป่องที่ไกอาส่งมาฆ่า ในบางฉบับ โอไรออนพยายามล่อลวงโอพิส (Opis) ผู้ติดตามตนหนึ่งของพระนาง พระนางจึงฆ่าเขา บางฉบับของอะเรทัส (Aratus)โอไรออนฉวยฉลองพระองค์คลุมของอาร์เตมิส และพระนางฆ่าเขาเป็นการป้องกันพระองค์ อีกฉบับหนึ่ง อะพอลโลเป็นผู้ส่งแมงป่องมา ตามฮิไจนัส (Hyginus) อาร์เตมิสเคยรักโอไรออน (ฉบับนี้ดูเหมือนเป็นส่วนที่เหลือหายากของพระนางที่เป็นเทพเจ้าก่อนโอลิมปัส ซึ่งมีคู่ครอง ดังเช่น อีออส ซึ่งขัดกับแหล่งข้อมูลภายหลัง) แต่ถูกอะพอลโลลวงให้ฆ่าเขา ซึ่ง “ปกป้อง” พรหมจรรย์ของพระเชษฐภคินีเทพซูสได้นางเป็นชายาอีกองค์ เมื่อเทพีเฮรารู้เข้าจึงกริ้วมาก จึงไล่ลีโตไปจากโอลิมปัส และยังสาปแช่งว่า ใครก็ตามที่ให้ที่พักแก่นาง ขอให้ประสบความอดอยาก จนถึงแก่ความตาย แล้วยังให้งูยักษ์ไพธอน ไล่ทำร้ายนางอีกด้วย แต่เนื่องด้วยว่า เทพีลีโตเป็นเทพี จึงไม่ตาย แต่ถึงกระนั้นก็ได้รับบาดเจ็บ เทพซุสที่เฝ้ามองอยู่เกิดความสงสารมาก จึงให้เทพโพไซดอน เทพเจ้าแห่งท้องทะเล ช่วยเหลือ
โพไซดอนพานางไปยังเกาะดีลอส ซึ่งเกิดจากอิทธิฤทธิ์ของโพไซดอน นางประทับอยู่ที่เกาะนี้จนให้กำเนิดบุตรฝาแฝด คือ เทพอพอลโล เทพแห่งดวงอาทิตย์ และเทพีฝาแฝดผู้พี่ เทพีอาร์เทมิส เทพีแห่งดวงจันทร์ ซึ่งต่อมาเทพอพอลโล ได้กำจัดงูไพธอนจนถึงแก่ความตาย จนมีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่ว การท่องเที่ยวเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของเศรษฐกิจของประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศนี้เป็นจุดท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในช่วงทศวรรษที่ 1980 อย่างไรก็ตามการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและสงคราม Nagorno-Karabakh ครั้งแรกในช่วงปี 1990 ทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและภาพลักษณ์ของอาเซอร์ไบจานเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเสียหาย
จนกระทั่งในช่วงทศวรรษ 2000 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเริ่มฟื้นตัวและตั้งแต่นั้นมาประเทศก็มีการเติบโตของจำนวนนักท่องเที่ยวและการพักค้างคืนในอัตราที่สูง ในปีที่ผ่านมา, อาเซอร์ไบจานได้ก็จะกลายเป็นปลายทางยอดนิยมสำหรับศาสนา, สปาและการท่องเที่ยวการดูแลสุขภาพในช่วงฤดูหนาวShahdag Mountain Resort ให้บริการสกีพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัย รัฐบาลอาเซอร์ไบจานได้มีการกำหนดในการพัฒนาของอาเซอร์ไบจานในฐานะที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ยอดเยี่ยมที่สุดเป็นเรื่องสำคัญที่สุด เป็นยุทธศาสตร์ระดับชาติที่จะทำให้การท่องเที่ยวกลายเป็นสิ่งสำคัญหากไม่ใช่สิ่งที่ใหญ่ที่สุดเพียงแห่งเดียวที่มีส่วนสนับสนุนเศรษฐกิจอาเซอร์ไบจัน กิจกรรมเหล่านี้ถูกควบคุมโดยกระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวของอาเซอร์ไบจาน มี 63 ประเทศที่มีคะแนนฟรีวีซ่า สำหรับการเยี่ยมชาวต่างชาติของประเทศที่ต้องขอวีซ่าไปยังสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน จากรายงานความสามารถในการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเที่ยวประจำปี 2558 ของ World Economic Forum ระบุว่าอาเซอร์ไบจานครองอันดับที่ 84
ตามรายงานของสภาการเดินทางและการท่องเที่ยวโลกอาเซอร์ไบจานเป็นหนึ่งในสิบประเทศที่มีการเติบโตสูงสุดในการส่งออกของผู้เยี่ยมชมระหว่างปี 2010 ถึง 2016 สถานที่ตั้งที่สะดวกสบายของอาเซอร์ไบจานบนทางแยกของเส้นเลือดใหญ่ระหว่างประเทศเช่นเส้นทางสายไหมและทางเดินทิศใต้ – เหนือชี้ให้เห็นถึงความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของภาคการขนส่งสำหรับเศรษฐกิจของประเทศ ภาคการขนส่งในประเทศ ได้แก่ ถนนทางรถไฟการบินและการขนส่งทางทะเล อาเซอร์ไบจานยังเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญในการขนส่งวัตถุดิบบากูทบิลิซี-Ceyhan ไปป์ไลน์ (BTC) กลายเป็นปฏิบัติการพฤษภาคม 2006 และขยายมากกว่า 1,774 กิโลเมตรผ่านดินแดนของอาเซอร์ไบจานจอร์เจียและตุรกี BTC ได้รับการออกแบบมาเพื่อขนส่งน้ำมันดิบมากถึง 50 ล้านตันต่อปีและขนส่งน้ำมันจากแหล่งน้ำมันในทะเลแคสเปียนไปยังตลาดโลก ใต้คอเคซัท่อส่งยังยืดผ่านดินแดนของอาเซอร์ไบจานจอร์เจียและตุรกีกลายเป็นการดำเนินงาน ณ สิ้นปี 2006 และข้อเสนอก๊าซเพิ่มเติมไปยังตลาดยุโรปจากการที่แหล่งก๊าซธรรมชาติ Shah Deniz Shah Deniz คาดว่าจะผลิตก๊าซธรรมชาติได้มากถึง 296 พันล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี อาเซอร์ไบจานยังมีบทบาทสำคัญในโครงการ Silk Road ที่สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป ในปี 2545 รัฐบาลอาเซอร์ไบจันได้จัดตั้งกระทรวงคมนาคมโดยมีหน้าที่ด้านนโยบายและกฎระเบียบที่หลากหลาย ในปีเดียวกันประเทศที่เป็นสมาชิกของอนุสัญญากรุงเวียนนาการจราจรบนถนน ลำดับความสำคัญคือการยกระดับเครือข่ายการขนส่งและการปรับปรุงบริการการขนส่งเพื่ออำนวยความสะดวกในการพัฒนาภาคอื่น ๆ ของเศรษฐกิจ การก่อสร้างทางรถไฟคาร์ส – ทบิลิซิ – บากูในปี 2555 มีขึ้นเพื่อปรับปรุงการขนส่งระหว่างเอเชียและยุโรปโดยเชื่อมต่อทางรถไฟของจีนและคาซัคสถานทางตะวันออกกับระบบรถไฟของยุโรปทางตะวันตกผ่านตุรกี ในปี 2010 ทางรถไฟขนาดกว้างและทางรถไฟไฟฟ้ามีความยาว 2,918 กม. (1,813 ไมล์) และ 1,278 กม. (794 ไมล์) ตามลำดับ ภายในปี 2010 มีสนามบิน 35 แห่งและลานจอดเฮลิคอปเตอร์หนึ่งแห่ง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากนี้อาเซอร์ไบจานยังเป็นอันดับหนึ่ง (46.1%) ในกลุ่มประเทศที่มีอัตราการเติบโตเร็วที่สุด การพัฒนาเศรษฐกิจการเดินทางและการท่องเที่ยวโดยมีตัวชี้วัดที่ชัดเจนสำหรับการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวต่างประเทศเมื่อปีที่แล้ว
เทพเฉพาะกิจและเทศกาลที่เกี่ยวข้องทำให้เราทราบว่าชาวโรมันสมัยแรกนอกจากจะเป็นกลุ่มชนที่เป็นสังคมเกษตรกรรม แต่ยังเป็นสังคมที่นิยมการต่อสู้ และ มักจะนิยมการทำสงคราม นอกจากจะมีเทพเฉพาะกิจในด้านการเกษตรแล้วชาวโรมันก็ยังมีเทพเฉพาะกิจในกิจการประจำวันที่ต้องทำการสักการบูชาตามความเหมาะสมด้วย ฉะนั้นเทพแจนัส และ เทพีเวสตาก็จะเป็นผู้รักษาประตูและเตาผิง, เทพลารีสพิทักษ์ที่ดินและบ้าน, เทพพาลีสพิทักษ์ท้องทุ่ง, เทพแซทเทิร์นพิทักษ์การหว่าน, เทพีเซเรสพิทักษ์การเจริญเติบโตของธัญพืช, เทพีโพโมนาพิทักษ์ผลไม้ และ เทคอนซัสพิทักษ์ธัญญาหารและสถานที่เก็บรักษาธัญญาหาร และ เทพีอ็อพสพิทักษ์การเก็บเกี่ยวและเป็นเทพีแห่งการเจริญพันธุ์ แม้แต่เทพจูปิเตอร์ผู้เป็นประมุขของทวยเทพก็ยังทรงเป็นเทพที่ช่วยให้ฝนตกเพื่อช่วยในการเกษตรกรรม และคุณลักษณะทั่วไปของพระองค์จากการที่ทรงมีสายฟ้าเป็นอาวุธทำให้ทรงได้ชื่อว่าเป็นผู้อำนวยการของกิจการที่มนุษย์กระทำ และการที่ทรงมีอำนาจอันยิ่งใหญ่และกว้างขวางทำให้ทรงได้ชื่อว่าเป็นผู้พิทักษ์กิจการทางทหารของชาวโรมันที่นอกไปจากในบริเวณเขตแดนของตนเอง เทพเจ้าสำคัญในสมัยแรกก็ได้แก่เทพมาร์ส และ เทพควิรินัส ผู้มักจะเป็นเทพในกลุ่มเดียวกัน เทพมาร์สเป็นเทพเจ้าแห่งการสงครามที่ทำการฉลองกันในเดือนมีนาคมและตุลาคม ส่วนเทพควิรินัสเชื่อกันโดยนักวิชาการสมัยใหม่ว่าเป็นเทพเจ้าแห่งประชาคมผู้ถืออาวุธในยามสันติ ในกลุ่มเทพของสมัยแรกก็มีไตรเทพ (triad) ที่สำคัญคือ เทพจูปิเตอร์, เทพมาร์ส และ เทพควิรินัส เทพในสมัยแรกมักจะไม่มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่สำคัญ และประวัติก็ไม่มีเรื่องราวของการสมรสหรือบรรพบุรุษ ซึ่งไม่เหมือนกับเทพเจ้ากรีกเพราะจะไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวิตของมนุษย์เดินดิน ฉะนั้นจึงแทบจะไม่มีเรื่องราวของกิจการที่กระทำ เทพจากต่างแดน เมื่อจักรวรรดิโรมันขยายตัวออกไปก็นำเอาประเพณีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าของบ้างเมืองต่าง ๆ เข้ามาผสมผสานกับเทพเจ้าของโรมันเอง ชาวโรมันที่ไปทำการพิชิตดินแดนต่าง ๆ ก็มักจะให้เกียรติแก่เทพเจ้าของท้องถิ่นที่ทำการพิชิตได้ในระดับเดียวกับเทพเจ้าเดิมของโรมันเอง และในบางกรณีชาวโรมันก็จะอัญเชิญเทพเจ้าจากต่างแดนเข้ามาพำนักในเทวสถานในกรุงโรมที่จัดตั้งให้