เหอเซียนกู

ไฉ่สิ่งเอี้ย หรือ จ่ายสินเอี้ย (จีน: 财神; พินอิน: Cái-shén; อังกฤษ: Cai Shen, God of wealth, God of fortune) เป็นเทพเจ้าของจีนที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ตรุษจีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว โดยคำว่า “ไฉ่สิ่ง” หรือ “ไฉซิ้ง” มีความหมายว่า “ทรัพย์สิน” หรือ “สิริมงคล” “เอี้ย” หมายถึง “เทพเจ้า” โดยเทพที่ได้รับการนับถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ย มีด้วยกันหลายองค์ แต่องค์ที่ได้รับการบูชามากที่สุด คือ ฟ่านหลี และปี่ กั้น ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบุ๋น ขณะที่จ้าวกงหมิง และกวนอู ถือเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบู การบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น ไฉ่สิ่งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง คือ ในวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00–01.00 น. ของวันตรุษจีน โดยทำการบูชาที่ดาดฟ้าบ้านหรือหลังคาบ้าน หรือระเบียงบ้านชั้นสองหรือสาม หรือหน้าบ้านก็ได้ ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้, อาหารเจ, บัวลอย, สาคู หรือของรับประทานต่าง ๆ ที่มีสีสันสดใส แต่ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มาตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น และเมื่อธูปที่ใช้บูชาใกล้มอดให้รีบนำเข้าบ้าน และปิดประตูหน้าต่างให้สนิท เพื่อให้ควันธูปที่เหลือนั้นตลบอบอวลอยู่ภายในบ้าน เชื่อว่าเป็นการอัญเชิญไฉ่สิ่งเอี้ยเข้ามาประทับในบ้าน เทพเจ้าจีนแบ่งเป็นสองประเภท คือ เทพเจ้าและบุคคลศักดิ์สิทธิ์ที่มาจากพระพุทธศาสนาแบบจีนและทิเบตซึ่งรับมาจากชมพูทวีปและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นภาษาจีนและ เทพเจ้าบุคคลศักดิ์สิทธิ์ดั้งเดิมซึ่งมีที่มาจากศาสนาพื้นบ้านจีน ลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า.ตามคติศาสนาพุทธ เทพ (บาลี: ;สันสกฤต: देव เทว) หมายถึงชาวสวรรค์ ถ้าเป็นเพศชายเรียกว่าเทพบุตร เพศหญิงเรียกว่าเทพธิดา และเรียกโดยรวมว่าเทวดา ในบางกรณีอาจครอบคลุมถึงพระพรหมทั้งหลายในพรหมโลกด้วย

jumbo jili

นอกจากนั้นยังตามความเชื่อของคนไทย สถานที่ศักสิทธิ์ที่มีการบูชาและเคารพมักจะเป็นที่สถิตย์ของเทวดา หมายรวมไปถึง บรรดา ต้นไม้ที่อายุเก่าแก่ โบราณสถานและโบราณวัตถุต่าง ๆ ก็มักมีเทวดาสถิตย์อยู่ ยูฟรอซินี (อังกฤษ: Euphrosyne; กรีก: Εὐφροσύνη) เป็นเทพีองค์หนึ่งในสามองค์ในกลุ่มเทพีชาริทีสในตำนานเทพเจ้ากรีกที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า “Three Graces” (ไตรเทพี) เทพียูฟรอซินีเป็นธิดาของซูสและยูรีโนเม (Eurynome) และเป็นเทพีแห่งความสง่าและความงาม และความร่าเริง เทพียูฟรอซินีปรากฏเป็นหนึ่งในสามเทพีในรายละเอียดของภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” โดยซันโดร บอตตีเชลลีฤดูใบไม้ผลิ (อังกฤษ: Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี ค.ศ. 1551 จอร์โจ วาซารีกล่าวถึงภาพนี้ว่าเป็นการประกาศถึงการมาถึงของฤดูใบไม้ผลิ (อิตาลี: “Primavera”) ที่เป็นภาพที่อยู่ในคฤหาสน์เมดิชิในคาสเตลโลไม่ไกลจาก “คฤหาสน์เพตราเอีย” ลอเรนโซ ดิ ปิแอร์ฟรานเชสโค เดอ เมดิชิ (Lorenzo di Pierfrancesco de’ Medici) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของลอเรนโซ เดอ เมดิชิซื้อคฤหาสน์นี้ในปี ค.ศ. 1477 ซึ่งทำให้สรุปว่าภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่เขียนให้ปิแอร์ฟรานเชสโคเมื่อมีอายุ 14 ปีเมื่อซื้อคฤหาสน์ จากการสำรวจทรัพย์สินของปิแอร์ฟรานเชสโคและน้องชายจิโอวานนิ (Giovanni il Popolano) ในปี ค.ศ. 1499 กล่าวถึง ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ว่าตั้งแสดงอยู่ที่วังในเมืองฟลอเรนซ์ในห้องรอที่ติดกับห้องของปิแอร์ฟรานเชสโค

สล็อต

ภาพเขียนขนาดใหญ่เช่นนี้เป็นเรื่องปกติสำหรับครอบครัวที่มีฐานะมั่งคั่ง แต่ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงการเขียนรูปสัญลักษณ์คลาสสิกและการวางรูปแบบของงานเขียนแบบเรอเนซองส์ ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพของเทพีวีนัสขนาดเท่าตัวคนยืนกึ่งเปลือยอยู่กลางภาพ ภาพนี้เป็นภาพที่ผู้ชมจะเข้าใจความหมายของภาพได้ก็ด้วยการมีความรู้อันลึกซึ้งในวรรณกรรมของยุคเรอเนซองส์และความสามารถในการประสานทัศน์ต่างๆ เข้าด้วยกัน (syncretism) ขณะที่ตัวแบบบางตัวในภาพมาจากแรงบันดาลใจจากประติมากรรมโบราณแต่มิใช่เป็นงานก็อปปีงานโดยตรงแต่เป็นการเขียนแบบตีความหมายตามความคิดของบอตติเชลลี ที่ตัวแบบมีลักษณะเพรียว, รูปทรงที่เป็นแบบอุดมคติอันสูงส่ง และ มีลักษณะการวางท่าแบบราชสำนักของคริสต์ศตวรรษที่ 16 แบบแมนเนอริสม์ วีนัสยืนอยู่กลางภาพห่างจากตัวแบบอื่นๆ โดยมีคิวปิดเล็งศรแห่งความรักไปยังเทพีชาริทีส (Charites) หรือ “ไตรเทพี” ผู้ที่กำลังเต้นรำอยู่เป็นกลุ่มอยู่ทางด้านซ้ายของภาพ เทพีองค์ไกลไปทางขวาเป็นใบหน้าของคาเทอรินา สฟอร์ซา (Caterina Sforza) ที่บอตติเชลลีเขียนเป็นภาพเหมือนต่างหากในภาพ “แคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” สวนของวีนัสผู้เป็นเทพีแห่งความรักได้รับการอารักขาโดยเทพเมอร์คิวรีผู้กำลังเอื้อมมืออกไปแตะผลไม้ เมอร์คิวรีแต่งตัวด้วยเสื้อสีแดงอย่างหลวมๆ สวมหมวกเหล็กและห้อยดาบที่เป็นการแสดงว่าเป็นผู้อารักขาสวน การเป็นผู้สื่อข่าวจากพระเจ้าก็บอกได้จากรองเท้าที่มีปีกและคทางูเดี่ยวที่เมอร์คิวรีใช้ในการแยกงูสองตัวและรักษาความสงบ บอตติเชลลีเขียนภาพงูเป็นมังกรมีปีก จากทางด้านขวาเซไฟรัสเทพเจ้าแห่งลมพยายามออกมาไล่นิมฟ์คลอริส ทางซ้ายของคลอริสคือเทพีฟลอราเทพีแห่งฤดูใบไม้ผลิผู้กำลังโปรยดอกไม้ที่อาจจะเป็นภาพของซิโมเนตตา เวสพุชชิ (Simonetta Vespucci) รายละเอียดของไตรเทพีหลังจากที่ภาพได้รับการทำความสะอาดแล้ว ทางด้านขวาเป็นภาพของคาเทอรินา สฟอร์ซา ภาพนี้ได้รับการตีความหมายกันไปต่างๆ ที่รวมทั้งความหมายทางการเมืองว่าความรักคือโรม, ไตรเทพี (three Graces) คือปิซา เนเปิลส์ และ เจนัว, เมอร์คิวรีคือมิลาน, ฟลอราคือฟลอเรนซ์, เมย์คือมานตัว, คลอริสและเซพไฟร์คือเวนิสและโบลซาโน (หรืออเร็ซโซและฟอร์ลิ) นอกจากความหมายต่างๆ ที่ว่าแล้วภาพนี้ก็ยังแสดงถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง เป็นภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมร่วมสมัยและเป็นการแสดงออกของเนื้อหาของวรรณกรรมคลาสสิก แหล่งข้อมูลหนึ่งของฉากที่เขียนอาจจะมาจากกวีนิพนธ์ “Fasti” โดยโอวิด ที่เป็นโคลงที่บรรยายปฏิทินเทศกาลของโรมันโบราณ สำหรับเดือนพฤษภาคมฟลอราเล่าว่าครั้งหนึ่งเคยเป็นนิมฟ์คลอริสและหายใจออกมาเป็นดอกไม้ พระพายเซพไฟร์หลงใหลในความงามของคลอริสก็ติดตามและเอาเป็นภรรยา และประทานสวนที่งดงามที่เป็นสวนแห่งฤดูใบไม้ผลิตลอดกาลให้ บอตติเชลลีเขียนภาพนี้เป็นสองฉากจากคำบรรยายของโอวิด ฉากแรกเป็นพระพายเซพไฟร์ไล่ตามคลอริสและการแปลงของคลอริสเป็นฟลอรา ที่ทำให้เสื้อผ้าของเทพีทั้งสองค์ที่ดูเหมือนจะไม่เห็นกันถูกโบกไปคนละทาง ฟลอรายืนอยู่ข้างวีนัสโปรยกลีบกุหลาบที่เป็นดอกไม้ของเทพีแห่งความรัก นักเขียนคลาสสิกลูเครเชียสบรรยายไว้ในโคลงคำสอนปรัชญา “De Rerum Natura” ที่สรรเสริญเทพีทั้งสององค์ในฉากฤดูใบไม้ผลิฉากเดียว โคลงนี้บรรยายถึงวีนัส, คิวปิด, เซพไฟร์, ฟลอรา ซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในภาพที่บอตติเชลลีวาด ซึ่งทำให้สันนิษฐานกันว่าโคลงนี้เป็นแหล่งข้อมูลหลักของภาพ

สล็อตออนไลน์

เอิร์นสต์ กอมบริค (Ernst Gombrich) ค้านความสัมพันธ์ระหว่างโคลงของลูเครเชียสกับภาพนี้ว่าเป็นงานของลูเครเชียสเป็นงานที่หนักไปทางปรัชญาที่ไม่น่าจะดึงดูดจิตรกรให้ใช้เป็นแหล่งข้อมูล และสนับสนุนว่า “The Golden Ass” โดยอพูเลียส (Apuleius) ว่าน่าจะเป็นแหล่งข้อมูลของภาพมากกว่า ที่เป็นโคลงที่บรรยายภาพเขียนที่หายไปอย่างละเอียด และเป็นงานนี้ก็เป็นที่นิยมใช้เป็นแรงบันดาลใจในบรรดาศิลปินยุคเรอเนซองส์กันมาก โคลงของอพูเลียสเป็นสัญลักษณ์ของทางเลือกของวีนัสในฐานะเทพีผู้มีความงามที่สุด ทางเลือกที่นำไปสู่สงครามเมืองทรอยที่บรรยายโดย โฮเมอร์ ใน “อีเลียด” สำหรับมาร์ซิลิโอ ฟิชีโนครูของโลเรนโซแล้ววีนัสเป็นสัญลักษณ์ของ “Humanitas” ฉะนั้นภาพเขียนจึงเป็นการเชิญชวนให้เลือกคุณค่าของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ แต่แคทธริน ลินด์สคูกยังเชื่อว่า “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพของสวนอีเดน จาก “ไตรภูมิดานเต” โดยดานเต จากการตีความหมายนี้บุคคลในภาพจากซ้ายไปขวาก็จะเป็น อาดัม, คุณธรรมสามประการ, เบียทริซ พอร์ตินาริ, มาทิลดา, อีฟ และ ซาตาน เลออโคออน (อังกฤษ: Laocoön กรีก: Λαοκόων) เป็นลูกของอะโคทีส (Acoetes) เป็นนักบวชโทรจันของโพไซดอนในตำนานเทพเจ้ากรีก (หรือเทพเนปจูน) แต่เลออโคออนไปละเมิดกฎอาจจะด้วยการแต่งงานและมีลูก หรืออาจจะโดยการปฏิบัติตัวในทางที่ไม่เหมาะสมโดยการไปสมสู่กับภรรยาต่อหน้ารูปเคารพในวัด บทบาทของเลออโคออนในตำนานสงครามเมืองทรอยคือไปพยายามเตือนฝ่ายทรอยไม่ให้รับม้าโทรจันจากฝ่ายกรีก ซึ่งทำความพิโรธให้แก่เทพเจ้าผู้ส่งงูทะเลสองตัวจากเกาะเทเนดอสมาเข่นฆ่า ม้าโทรจัน หรือ ม้าไม้เมืองทรอย (อังกฤษ: Trojan horse) เป็นม้าขนาดใหญ่ที่ทำจากไม้ จากมหากาพย์อีเลียดเรื่องสงครามเมืองทรอย ม้าไม้นี้เกิดขึ้นจากอุบายของโอดิสเซียส ในการบุกเข้าเมืองทรอย ที่มีป้อมปราการแข็งแรง หลังจากที่รบยืดเยื้อมานานถึง 10 ปีแล้ว ด้วยการให้ทหารสร้างม้าไม้นี้ขึ้นมา แล้วลากไปวางไว้หน้ากำแพงเมืองทรอย แล้วให้ทหารกรีกแสร้งทำเป็นล่าถอยออกไป เมื่อชาวทรอยเห็นแล้วเข้าใจว่าเป็นบรรณาการที่ทางฝ่ายกรีกสร้างขึ้นมาเพื่อบูชาเทพเจ้าและล่าถอยไปแล้ว จึงลากเข้าไปไว้ในเมืองและฉลองชัยชนะ เมื่อตกดึก ทหารกรีกที่ซ่อนตัวอยู่ในม้าไม้ ก็ไต่ลงมาเผาเมืองและปล้นเมืองทรอยได้เป็นที่สำเร็จ ปัจจุบัน ม้าโทรจัน ได้กลายมาเป็นสำนวนในภาษาอังกฤษ และเป็นชื่อของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เมืองชานักกาเล ประเทศตุรกี ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของเมืองทรอยจริงตามประวัติศาสตร์ ทางผู้สร้างภาพยนตร์เรื่อง Troy เมื่อปี ค.ศ. 2004 ก็ได้มอบม้าไม้ตัวที่ใช้ในเรื่องให้แก่เมือง ซึ่งกลายเป็นจุดสนใจและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของเมืองด้วย[โอดิสเซียส หรือ โอดิสซูส (กรีก: Ὀδυσσεὺς, โอ-ดุส-เซวส์ [odysse͜ús]) นอกจากนี้ยังรู้จักกันในชื่อภาษาละตินว่า ยูลิสซิส (ละติน: Ulysses) เป็นตัวเอกในมหากาพย์เร่องโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ และยังมีบทบาทสำคัญในการสู้รบที่กรุงทรอย ซึ่งถ่ายทอดผ่านมหากาพย์อีเลียดของกวีคนเดียวกันอีกด้วย

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot