Daily Archives: January 15, 2022

จักรพรรดินีเจียง

กวนอู (เสียชีวิต เดือนมกราคมหรือกุมภาพันธ์ ค.ศ. 220) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า กวน ยฺหวี่ (จีน: 關羽; พินอิน: Guān Yǔ) มีชื่อรองว่า หุนเตี๋ยง หรือในภาษาจีนกลางว่า ยฺหวินฉาง (จีน: 雲長; พินอิน: Yúncháng) เป็นขุนพลของขุนศึกเล่าปี่ในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของจีน กวนอูมีความสัมพันธ์ฉันพี่น้องกับเล่าปี่รวมถึงเตียวหุยและติดตามเล่าปี่ตลอดช่วงเริ่มตั้งตัว กวนอูมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ที่นำไปสู่ยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่นและการสถาปนารัฐจ๊กก๊กของเล่าปี่ในยุคสามก๊ก กวนอูมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการตอบแทนบุญคุณของโจโฉด้วยการสังหารงันเหลียงขุนพลของอ้วนเสี้ยวข้าศึกของโจโฉในยุทธการที่แปะแบ๊โดยที่ตัวกวนอูยังคงภักดีต่อเล่าปี่ หลังจากเล่าปี่ยึดได้แคว้นเอ๊กจิ๋วในปี ค.ศ. 214 กวนอูยังคงอยู่ที่แคว้นเกงจิ๋วเพื่อปกครองและป้องพื้นพื้นที่เป็นเวลาประมาณเจ็ดปี ในปี ค.ศ. 219 ระหว่างที่กวนอูนำทัพไปรบกับกองกำลังของโจโฉในยุทธการที่อ้วนเสีย ซุนกวนพันธมิตรของเล่าปี่ได้ทำลายความเป็นพันธมิตรซุน-เล่าแล้วส่งขุนพลลิบองเข้ายึดครองอาณาเขตของเล่าปี่ในแคว้นเกงจิ๋ว กว่าที่กวนอูซึ่งพ่ายแพ้ในการรบที่อ้วนเสียจะทราบข่าวการเสียแคว้นเกงจิ๋วก็สายเกินแก้ ภายหลังกวนอูถูกกองกำลังของซุนกวนซุ่มจับตัวได้และถูกประหารชีวิต หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับชีวประวัติของกวนอูที่เชื่อถือได้คือ จดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อ) เขียนโดยตันซิ่วในศตวรรษที่ 3 ครั้นศตวรรษที่ 5 เผย์ ซงจือได้เพิ่มอรรถาธิบายให้กับจดหมายเหตุสามก๊ก โดยได้รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานอื่น ๆ เพิ่มเติมให้กับงานต้นฉบับของตันซิ่ว และได้เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัวไปด้วย บันทึกส่วนหนึ่งที่ใช้ในการเพิ่มอรรถาธิบายให้กับชีวประวัติของกวนอู ได้แก่ ฉู่จี้ (จดหมายเหตุจ๊กก๊ก) โดยหวัง อิ่น; เว่ย์ชู (จดหมายเหตุวุยก๊ก) โดยหวัง เฉิน, สฺวิน อี่ และ หร่วน จี๋; เจียงเปี่ยวจฺวั้น โดย ยฺหวี ผู่; ฟู่จื่อ โดย ฟู่ เสฺวียน; เตี่ยนเลฺว่ โดย ยฺหวี ฮฺว่าน; อู๋ลี่ (ประวัติศาสตร์ง่อก๊ก) โดย หู ชง; และ หฺวาหยางกั๋วจื้อ โดย ฉาง ฉฺวี

jumbo jili

ลักษณะภายนอก ในบันทึกทางประวัติศาสตร์ไม่มีข้อความที่บรรยายลักษณะภายนอกของกวนอูอย่างแน่ชัด แต่ในจดหมายเหตุสามก๊กได้บันทึกไว้ว่า ครั้งหนึ่งจูกัดเหลียงได้กล่าวถึงกวนอูว่ามี “เคราที่มิมีผู้ใดเทียบ” ตามความเชื่อดั้งเดิม กวนอูถูกบรรยายลักษณะว่าเป็นนักรบใบหน้าแดงที่มีเคราดกยาว แนวคิดเรื่องหน้าแดงนี้มาจากคำบรรยายลักษณะของกวนอูในตอนที่ 1 ของนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ซึ่งประพันธ์ในศตวรรษที่ 14 ตามเนื้อความต่อไปนี้ “เหี้ยนเต๊ก (เล่าปี่) มองไปที่บุรุษนั้นผู้มีสูงเก้าฉื่อ และมีเครายาวสองฉื่อ หน้ามีสีเหมือนผลพุทราสุก ริมฝีปากแดงและอวบอิ่ม ดวงตาเหมือนกับหงส์แดง คิ้วคล้ายหนอนไหม มีท่าทางสง่างามองอาจ”
สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 1 บรรยายลักษณะของกวนอูไว้ตามเนื่อตวามต่อไปนี “เล่าปี่เห็นผู้นั้นสูงประมาณหกศอกหนวดยาวประมาณศอกเศษ หน้าแดงดังผลพุทราสุก ปากแดงดังชาดแต้ม คิ้วดังตัวไหม จักษุยาวดังนกการะเวก เห็นกิริยาผิดประหลาทกว่าคนทั้งปวง” เล่าปี่ (ด้านซ้าย) กวนอู (ด้านหลัง) และเตียวหุย (ด้านขวา) ในภาพวาดโดยศิลปินชาวญี่ปุ่น ซากุไร เซกกัง (1715–90) กวนอูเป็นชาวอำเภอไก่เหลียง(解縣 เสี่ยเซี่ยน) เมืองฮอตั๋ง (河東郡 เหอตงจฺวิ้น) ซึ่งในปัจจุบันคือเมืองยฺวิ่นเฉิง มณฑลชานซี ชื่อรองเดิมของกวนอูคือฉางเชิง (長生).[ซันกั๋วจื้อ 2] กวนอูมีความสนใจในตำราประวัติศาสตร์ยุคโบราณจั่วจฺวั้น และสามารถท่องจำได้อย่างแม่นยำ กวนอูหนีออกจากบ้านเกิดด้วยเหตุการณ์ที่ไม่ทราบแน่ชัด และเดินทางไปยังเมืองตุ้นก้วน (涿郡 จัวจฺวิ้น; ปัจจุบันคือเมืองจัวโจว มณฑลหูเป่ย์). เมื่อกบฏโพกผ้าเหลืองก่อการขึ้นในปี ค.ศ. 184 กวนอูและเตียวหุยเข้าร่วมกองกำลังทหารอาสาที่ก่อตั้งโดยเล่าปี่ และช่วยเหลือนายพลเจาเจ้งในการปราบจลาจล เมื่อเล่าปี่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการ (相 เซียง) ของรัฐเพงงวนก๋วน (平原國 ผิงยฺเหวียนกั๋ว; ปัจจุบันคือเมืองเต๋อโจว มณฑลชานตง) กวนอูและเตียวหุยก็ได้รับการแต่งตั้งให้มีตำแหน่งเปี๋ยปู้ซือหม่า (别部司馬บัญชากองทหารสองกองแยกกันภายใต้สังกัดของเล่าปี่ ทั้งสามคนเล่าปี่ กวนอู และเตียวหุยมีความสนิทกันเหมือนเป็นพี่น้องกัน และนอนร่วมเตียงกัน กวนอูและเตียวหุยมักยืนให้ความคุ้มครองเล่าปี่อยู่ด้านหลังเมื่อเล่าปี่พบปะกับผู้อื่น ทั้งคู่ติดตามเล่าปี่ในการตั้งตัวและช่วยปกป้องเล่าปี่จากอันตราย เล่าปี่และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ติดตามโจโฉกลับไปเมืองหลวงฮูโต๋ (許 สฺวี่; ปัจจุบันคือเมืองสฺวี่ชาง มณฑลเหอหนาน) หลังจากทำศึกชนะลิโป้ในยุทธการที่แห้ฝือในปี ค.ศ. 198 ประมาณหนึ่งปีหลังจากนั้น เล่าปี่และผู้ติดตามได้หนีออกจากเมืองฮูโต๋ โดยอ้างว่าจะช่วยโจโฉนำทหารไปโจมตีอ้วนสุด เล่าปี่ไปยังแคว้นชีจิ๋ว สังหารกีเหมา (車冑 เชอ โจ้ว) ผู้เป็นข้าหลวงแคว้น และเข้าควบคุมแคว้นชีจิ๋ว เล่าปี่ย้ายไปอยู่เมืองเสียวพ่าย (小沛 เสี่ยวเพ่ย์; ปัจจุบันคืออำเภอเพ่ย์ มณฑลเจียงซู) ให้กวนอูอยู่รักษาเมืองแห้ฝือ (下邳 เซี่ยพี; ปัจจุบันคือเมืองพีโจว มณฑลเจียงซู) เมืองเอกของแคว้นชีจิ๋วกั๋วจื้อจู้ ในปี ค.ศ. 200 โจโฉยกทัพมาโจมตีเล่าปี่จนแตกพ่ายแล้วเข้ายึดแคว้นชีจิ๋วคืน เล่าปี่หนีไปทางภาคเหนือของจีนแล้วเข้าหลบภัยกับอ้วนเสี้ยวที่เป็นคู่ศึกกับโจโฉ ส่วนกวนอูถูกกองทัพของโจโฉจับตัวได้แล้วพากลับเมืองฮูโต๋ โจโฉปฏิบัติต่อกวนอูอย่างให้เกียรติ และได้ทูลขอพระเจ้าเหี้ยนเต้ให้พระราชทานแต่งตั้งให้กวนอูมีตำแหน่งเพียนเจียงจฺวิน (偏將軍). ต่อมาในปีเดียวกัน อ้วนเสี้ยวให้ขุนพลงันเหลียงนำทหารเข้าโจมตีกองทหารรักษาการณ์ของโจโฉที่แปะแบ๊ (白馬 ปั๋วหม่า; ปัจจุบันอยู่บริเวณใกล้กับอำเภอหฺวา มณฑลเหอหนาน) ซึ่งป้องกันโดยเล่าเอี๋ยน (劉延 หลิว เหยียน) โจโฉให้เตียวเลี้ยวและกวนอูนำทหารกองหน้าไปรบกับข้าศึก ระหว่างการรบกวนอูจำสัปทนของงันเหลียงได้จึงมุ่งตรงไปหางันเหลียง ตัดศีรษะงันเหลียงได้แล้วหิ้วศีรษะนั้นกลับมา ทหารของงันเหลียงไม่สามารถต้านทานกวนอูไว้ได้ การล้อมที่แปะแบ๊จึงคลี่คลายไป โจโฉถวายคำแนะนำให้พระเจ้าเหี้ยนเต้พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้กวนอูเป็น “หั้นสือแต่งเฮา ” (漢壽亭侯 ฮั่นโซ่วถิงโหฺว)

สล็อต

ตีจากโจโฉ แม้ว่าโจโฉจะชื่นชมกวนอูเป็นอย่างมาก แต่ก็รู้สึกได้ว่ากวนอูคงไม่ตั้งใจจะรับราชการกับตนเป็นเวลานาน โจโฉได้บอกกับเตียวเลี้ยวว่า “ขอท่านจงใช้ความเป็นเพื่อนกับกวนอูไปเลียบเคียงถามถึงความต้องการของกวนอูด้วย” เมื่อเตียวเลี้ยวถามกวนอู กวนอูจึงตอบว่า “ข้าทราบดีว่าท่านโจดีต่อข้าเป็นอย่างมาก แต่ข้าก็ได้รับความกรุณาเป็นอย่างมากจากขุนพลเล่าและข้าได้สาบานว่าจะติดตามท่านไปจนสิ้นชีวิต ข้ามิอาจละคำสาบานได้ ท้ายที่สุดแล้วข้าจะจากไป ขอท่านโปรดช่วยข้านำความนี้ไปว่ากล่าวกับท่านโจด้วย” เตียวเลี้ยวนำความที่กวนอูกล่าวไปบอกกับโจโฉ โจโฉจึงยิ่งประทับใจในตัวกวนอูมากขึ้นไปอีก[ซันกั๋วจื้อ 8] ในฟู่จื่อมีรายละเอียดของเหตุการณ์นี้ที่แตกต่างออกไปเล็กน้อย โดยบันทึกไว้ว่าเตียวเลี้ยวมีความลำบากใจว่าจะนำความที่กวนอูกล่าวไปแจ้งกับโจโฉดีหรือไม่ หากนำความไปแจ้ง โจโฉอาจจะสั่งประหารกวนอู หากไม่แจ้ง โจโฉก็อาจจะปลดตนออกจากตำแหน่ง เตียวเลี้ยวถอนหายใจแล้วว่า “ท่านโจเป็นนายของข้าและเป็นเหมือนบิดาของข้า ส่วนกวนอูก็เป็นเหมือนพี่น้องของข้า” ในที่สุดเตียวเลี้ยวจึงตัดสินใจแจ้งโจโฉ โจโฉจึงว่า “ผู้ใดรับใช้นายแต่ก็ไม่ลืมรากเหง้าถือเป็นผู้ทรงธรรมโดยแท้ ท่านคิดว่าเขาจะจากไปเมื่อใดหรือ?” เตียวเลี้ยวตอบว่า “กวนอูได้รับความกรุณาจากนายท่าน เขาอาจจะจากไปหลังจากได้ตอบแทนบุญคุณท่านแล้ว”[ซันกั๋วจื้อจู้ 3] หลังจากกวนอูสังหารงันเหลียงและสลายวงล้อมที่แปะแบ๊แล้ว โจโฉก็รู้ว่ากวนอูจะจากไปในไม่ช้าจึงมอบรางวัลให้กวนอูมากขึ้น กวนอูผนึกของขวัญทั้งหมดที่ได้รับจากโจโฉ เขียนหนังสืออำลาถึงโจโฉ และมุ่งหน้าไปยังอาณาเขตของอ้วนเสี้ยวเพื่อไปหาเล่าปี่ ผู้ใต้บังคับบัญชาของโจโฉต้องการจะไล่ตามจับกวนอู แต่โจโฉห้ามไว้แล้วกล่าวว่า “เขาแค่ทำตามหน้าที่เพื่อนายของตน ไม่จำเป็นต้องไล่ตามจับ” ผย์ ซงจือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ว่า “โจโฉชื่นชมกวนอูอย่างมากแม้ตนจะรู้ว่ากวนอูจะไม่อยู่เป็นลูกน้องตนอีก จึงไม่ส่งคนไปไล่ตามกวนอูเมื่อกวนอูจากไป เปิดโอกาสให้กวนอูสำเร็จผลเพื่อความจงรักภักดี (ต่อเล่าปี่) หากเขามิใช่คนใจกว้างอย่างที่ขุนศึกผู้ยิ่งใหญ่เป็น เขาจะปล่อยให้เกิดเหตุเช่นนี้หรือ นี่เป็นตัวอย่างของคุณธรรมของโจโฉ” ภาพจิตรกรรมของกวนอู “บุกเดี่ยวพันลี้” (千里走單騎) ที่พระราชวังฤดูร้อน กรุงปักกิ่ง เมื่อโจโฉรบกับอ้วนเสี้ยวในยุทธการที่กัวต๋อในปี ค.ศ. 200 อ้วนเสี้ยวส่งเล่าปี่ไปติดต่อกับเล่าเพ็ก (劉辟 หลิว พี่) ผู้นำกลุ่มกบฏโพกผ้าเหลืองในเมืองยีหลำ (汝南 หรู่หนาน) และช่วยเล่าเพ็กในการโจมตีเมืองหลวงฮูโต๋ (許 สฺวี่; ปัจจุบันคือเมืองสฺวี่ชาง มณฑลเหอหนาน) ในขณะที่โจโฉอยู่ไกลถึงกัวต๋อ กวนอูกลับมาร่วมกับเล่าปี่ในช่วงเวลานี้ เล่าปี่และเล่าเพ็กพ่ายแพ้ให้กับโจหยินขุนพลของโจโฉ จากนั้นเล่าปี่จึงกลับไปหาอ้วนเสี้ยว เล่าปี่ลอบวางแผนจะตีจากอ้วนเสี้ยว จึงแสร้งทำเป็นเสนอให้อ้วนเสี้ยวเป็นพันธมิตรกับเล่าเปียวผู้ครองแคว้นเกงจิ๋ว อ้วนเสี้ยวมอบหมายให้เล่าปี่ไปติดต่อกับก๋งเต๋า (共都/龔都 กงตู) ผู้นำกลุ่มกบฏอีกคนในยีหลำ และรวบรวมทหารได้สองสามพันคน ฝ่ายโจโฉหลังจากได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนืออ้วนเสี้ยวที่กัวต๋อก็ยกทัพกลับมาโจมตีเมืองยีหลำและเอาชนะเล่าปี่ได้ เล่าปี่หนีลงทางใต้และเข้าหลบภัยกับเล่าเปียว เล่าเปียวมอบหมายให้เล่าปี่ดูแลอำเภอซินเอี๋ย (新野 ซินเหย่; ปัจจุบันตืออำเภอซินเหย่ มณฑลเหอหนาน) ที่ชายแดนทางเหนือของแคว้นเกงจิ๋ว กวนอูได้ติดตามเล่าปี่ไปอยู่ที่ซินเอี๋ย

สล็อตออนไลน์

เล่าเปียวเสียชีวิตในปี ค.ศ. 208 เล่าจ๋องบุตรชายคนเล็กของเล่าเปียวสืบทอดตำแหน่งแทนและต่อมาก็ยอมจำนนมอบแคว้นเกงจิ๋วให้โจโฉเมื่อโจโฉเริ่มการทำศึกเพื่อปราบปรามกองกำลังฝ่ายตรงข้ามทางตอนใต้ของจีน เล่าปี่พร้อมด้วยผู้ติดตามอพยพจากซินเอี๋ยมุ่งไปยังแฮเค้า (夏口 เซี่ยโข่ว; ปัจจุบันคือเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์) ซึ่งรักษาป้องกันโดยเล่ากี๋บุตรชายคนโตของเล่าเปียวและเป็นอิสระจากความควบคุมของโจโฉ ในการเดินทางครั้งนั้นเล่าปี่ได้แบ่งคนของตนออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งนำโดยกวนอูให้แล่นเรือไปตามแม่น้ำมุ่งไปยังกังเหลง (江陵 เจียงหลิง; ปัจจุบันคือเมืองจิงโจว มณฑลหูเป่ย์) อีกกลุ่มนำโดยตัวเล่าปี่เองเดินทางไปทางบก ทหารส่งทหารม้าฝีมือดี 5,000 นายให้ไล่ตามกลุ่มของเล่าปี่และไล่ตามทันทีเตียงปัน (長坂 ฉางป่าน; ปัจจุบันคือเมืองตางหยาง มณฑลหูเป่ย์) แล้วเกิดยุทธการที่สะพานเตียงปันเกี้ยวขึ้น เล่าปี่และผู้ติดตามที่เหลือหนีกองกำลังของโจโฉจนมาถึงท่าน้ำฮันจิ๋น (漢津 ฮั่นจิน) ที่ซึ่งกลุ่มของกวนอูได้ช่วยพาทั้งหมดขึ้นเรือแล้วแล่นไปแฮเค้าด้วยกัน ในปี ค.ศ. 208 เล่าปี่เป็นพันธมิตรกับซุนกวนและเอาชนะโจโฉได้อย่างแตกหักในยุทธการที่ผาแดง โจโฉถอยหนีขึ้นทางเหนือหลังการพ่ายแพ้และมอบหมายให้โจหยินอยู่ป้องกันแคว้นเกงจิ๋ว ในระหว่างยุทธการที่กังเหลง กวนอูได้รับมอบหมายให้แทรกซึมไปสกัดเส้นทางลำเลียงเสบียงของโจหยิน กวนอูจึงนำกองกำลังพิเศษเข้าโจมตีเมืองซงหยงที่มีงักจิ้นขุนพลของโจโฉเป็นผู้รักษา งักจิ้นเอาชนะกวนอูและซู เฟย์ (蘇非) ให้ล่าถอยไปได้ หลังเล่าปี่ยึดครองได้หลายเมืองของแคว้นเกงจิ๋วใต้ เล่าปี่ได้แต่งตั้งให้กวนอูเป็นเจ้าเมือง (太守 ไท่โฉ่ว) ของเมืองซงหยงและเป็นขุนพลปราบโจร (盪寇將軍 ต้างโค่วเจียงจฺวิน) และมอบหมายให้กวนอูไปตั้งกองกำลังที่ทางฝั่งเหนือของแม่น้ำแยงซี ภายหลังกวนอูรบกับงักจิ้นและบุนเพ่งที่สฺวินโข่ว (尋口) และพ่ายแพ้ บุนเพ่งโจมตีคลังแสงและคลังเสบียงของกวนอูที่ท่าน้ำฮันจิ๋น (漢津 ฮั่นจิน) และเผาเรือของกวนอูที่จิงเฉิง (荊城 ระหว่างปี ค.ศ. 212 ถึง ค.ศ. 214 เล่าปี่เริ่มการศึกเพื่อยึดครองแคว้นเอ๊กจิ๋ว (ครอบคลุมพื้นที่ของมณฑลเสฉวนและเมืองฉงชิ่งในปัจจุบัน) จากเล่าเจี้ยงที่เป็นผู้ครองแคว้น ผู้ใต้บังคับบัญชาของเล่าปี่ส่วนใหญ่ได้เข้าร่วมในการศึกนี้ ในขณะที่กวนอูยังคงอยู่รักษาดูแลอาณาเขตของเล่าปี่ในแคว้นเกงจิ๋ว ในช่วงกลางทศวรรษ 210 เกิดกรณีพิพาทเรื่องอาณาเขตระหว่างเล่าปี่และ ซุนกวนในแคว้นเกงจิ๋วใต้ ตามข้อตกลงก่อนหน้านี้ เล่าปี่ได้ “ยืม” แคว้นเกงจิ๋วใต้จากซุนกวนเพื่อใช้เป็นฐานกำลังชั่วคราว เล่าปี่จะต้องคืนอาณาเขตนี้แก่ซุนกวนหลังจากได้ฐานที่มั่นอื่นแล้ว หลังจากเล่าปี่ยึดครองแคว้นเอ๊กจิ๋ว ซุนกวนได้ร้องขอต่อเล่าปี่คืนสามเมืองแต่เล่าปี่ปฏิเสธ ซุนกวนจึงให้ขุนพลลิบองนำทัพไปยึดสามเมือง เล่าปี่โต้กลับด้วยการให้กวนอูนำทัพไปหยุดลิบอง[ซันกั๋วจื้อ อื่น ๆ กำเหลงหนึ่งในผู้ใต้บังคับบัญชาของลิบองได้จัดการขัดขวางกวนอูไม่ให้ข้ามธารน้ำตื้นใกล้อี้หยาง ธารน้ำตื้นนี้จึงได้ชื่อว่า ‘ธารน้ำกวนอู’ (關羽瀨 กวันยฺหวี่ไล่)ภายหลังโลซก (แม่ทัพใหญ่บัญชาการกองกำลังของซุนกวนโดยรวมในแคว้นเกงจิ๋ว) ได้เชิญกวนอูมาพบเพื่อเจรจาจัดการกรณีพิพาทเรื่องอาณาเขต ราวปี ค.ศ. 215 หลังจากโจโฉยึดได้เมืองฮันต๋ง เล่าปี่เห็นว่าเหตุการณ์นี้เป็นภัยคุกคามทางยุทธศาสตร์ต่อตนในแคว้นเอ๊กจิ๋ว จึงตัดสินใจสงบศึกกับซุนกวนและตกลงจะแบ่งแคว้นเกงจิ๋วใต้ส่วนหนึ่งให้ซุนกวนโดยกำหนดเขตแดนใหม่ตลอดแม่น้ำเซียง จากนั้นทั้งสองฝ่ายจึงถอนกำลังไป ในปี ค.ศ. 219 เล่าปี่ได้ชัยชนะต่อโจโฉในยุทธการที่ฮันต๋ง จากนั้นเล่าปี่จึงสถาปนาตนขึ้นเป็น “ฮันต๋งอ๋อง” (漢中王 ฮั่นจงหฺวาง) เล่าปี่แต่งตั้งให้กวนอูเป็นขุนพลกองหน้า (前將軍 เฉียงเจียงจฺวิน) และประทานขวานชั้นยศ ในปีเดียวกัน กวนอูนำทัพยกไปโจมตีโจหยินที่อ้วนเสีย (樊城 ฝานเฉิง; ปัจจุบันตือเขตฝานเฉิง เมืองเซียงหยาง มณฑลหูเป่ย์) และเข้าล้อมป้อมปราการไว้ โจโฉให้อิกิ๋มนำกองหนุนไปช่วยโจหยิน ขณะนั้นเป็นฤดูใบไม้ผลิและเกิดฝนตกหนักจนแม่น้ำฮันซุยล้นตลิ่ง เกิดน้ำท่วมทำลายกองทหารเจ็ดสายของอิกิ๋ม อิกิ๋มยอมจำนนต่อกวนอู ส่วนบังเต๊กผู้ใต้บังคับบัญชาของอิกิ๋มไม่ยอมจำนนจึงถูกกวนอูสั่งประหาร กลุ่มโจรที่นำโดยเหลียง เจี๋ย (梁郟) และลู่ หุน (陸渾) ได้รับตราราชการจากกวนอูจึงมาเข้าร่วมและกลายเป็นผู้ติดตามของกวนอู ชื่อเสียงของกวนอูแพร่สะพัดไปทั่วแผ่นดิน ฉู่จี้ได้บันทึกว่าก่อนที่กวนอูจะเริ่มการศึกที่อ้วนเสีย กวนอูได้ฝันว่ามีหมูป่ามากัดที่เท้า กวนอูจึงบอกกวนเป๋งบุตรชายว่า “ปีนี้พ่ออ่อนแอลงมาก พ่ออาจจะไม่ได้กลับมาเป็น ๆ” หลังจากความพ่ายแพ้ของอิกิ๋ม โจโฉคิดอ่านจะย้ายเมืองหลวงจากเมืองฮูโต๋ (許 สฺวี่; ปัจจุบันคือเมืองสฺวี่ชาง มณฑลเหอหนาน) ขึ้นเหนือไปเหอเป่ย์เพื่อหลีกภัยจากกวนอู แต่สุมาอี้และเจียวเจ้ได้บอกกับโจโฉว่าซุนกวนคงต้องร้อนใจเมื่อได้ยินข่าวชัยชนะของกวนอู แล้วแนะนำให้โจโฉเป็นพันธมิตรกับซุนกวนเพื่อให้ซุนกวนช่วยขัดขวางการรุกคืบของกวนอู และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนโจโฉก็ต้องยอมรับการอ้างสิทธิของซุนกวนเหนือดินแดนกังตั๋ง ด้วยแนวทางนี้การปิดล้อมที่อ้วนเสียก็จะคลี่คลายโดยอัตโนมัติ โจโฉทำตามคำแนะนำนี้ ก่อนหน้านี้ซุนกวนได้ส่งทูตไปพบกวนอูเพื่อเสนอให้มีการแต่งงานระหว่างบุตรชายของตนและบุตรสาวของกวนอู แต่กวนอูปฏิเสธข้อเสนอ ทั้งยังด่าว่าและหยามเกียรติของทูตอย่างรุนแรง ทำให้ซุนกวนโกรธมาก ต่อมาโจโฉให้ซิหลงนำทหารกองหนุนอีกกองไปช่วยโจหยินที่อ้วนเสีย ซิหลงบุกทะลวงผ่าวงล้อมของกวนอูในสนามรบ จึงสลายการโอบล้อมที่อ้วนเสียได้สำเร็จ [เมื่อกวนอูเห็นว่าไม่อาจยึดอ้วนเสียได้จึงถอนทัพไป ฉู่จี้ได้บันทึกเหตุการณ์การเผชิญหน้าของซิหลงและกวนอูในสนามรบไว้ ซิหลงเคยเป็นเพื่อนสนิทของกวนอู มักจะสนทนากันเรื่องต่าง ๆ นอกเหนือจากเรื่องการทหาร เมื่อทั้งสองได้พบกันอีกครั้งที่อ้วนเสีย ซิหลงได้ถ่ายทอดคำสั่งกับทหารของตนว่า “ใครตัดศีรษะกวนอูได้จะได้รับรางวัลเป็นทองคำ 1,000 ชั่ง” กวนอูตกใจจึงถามซิหลงว่า “พี่ท่านเหตุใดจึงกล่าวเช่นนี้” ซิหลงตอบว่า “นี่เป็นเรื่องการของแผ่นดิน”

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

เง็กเซียนฮ่องเต้

เต้าจี้ฉานซือ (จีนตัวย่อ: 道济禅师; จีนตัวเต็ม: 道濟禪師; พินอิน: dào jì chán shī) (1130–1207) หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ จี้กง (จีนตัวย่อ: 济公; จีนตัวเต็ม: 濟公; พินอิน: Jìgōng, อาจารย์จี้) หรือ จี้กงหัวฝอ (จีนตัวย่อ: 济公活佛; จีนตัวเต็ม: 濟公活佛; พินอิน: Jìgōng huófó “จี้กงพุทธะผู้ยังมีชีวิต”) เป็นพระภิกษุชาวจีน นิกายฉาน (เซน) สมัยราชวงศ์ซ่งใต้ มีนามเดิมว่า หลี่ ซิวหยวน (李修元 บางแห่งเขียนเป็น 李修缘) หลี่ ซิวหยวน บวชเป็นภิกษุที่วัดหลิงอิ่น เมืองหางโจว มีพระอาจารย์ฮุ่ยหย่วนเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่าเต้าจี้ แม้เป็นภิกษุ แต่พระเต้าจี้มักมีพฤติกรรมแปลกจากจารีต คือชอบฉันเนื้อสุนัข ดื่มสุรา ครองจีวรที่เป็นผ้าขี้ริ้วสกปรก จึงถูกคณะสงฆ์ขับออกจากวัด และใช้ชีวิตเร่ร่อนอยู่ข้างถนน แต่พระเต้าจี้มีจิตใจดี ชอบช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ เช่น เจ็บป่วย หรือถูกรังแก จึงเป็นที่นับถือของประชาชน นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่าท่านสามารถแสดงอิทธิฤทธิ์ได้ และเชื่อว่าท่านเป็นพระนนทิมิตร หนึ่งในพระอรหันต์สิบแปดองค์กลับชาติมาเกิด หลังจากพระเต้าจี้ถึงแก่มรณภาพในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1207 ลัทธิเต๋าได้ยกย่องท่านเป็นเทพเจ้า จากนั้นไม่นานคณะสงฆ์จึงรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของท่านราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (จีน: 宋朝; พินอิน: Sòng Cháo; เวด-ไจลส์: Sung Ch’ao) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปี พ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ

jumbo jili

เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหารของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรมและเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใด ๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่าง ๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ “คนป่าเถื่อน” ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ “หวังอั้นจี่” ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงินของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้ายก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉินไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทนแผ่นดินภาคกลาง ภายหลังจักรพรรดิโจวกงตี้ แห่งราชวงศ์โฮ่วโจวสิ้นพระชนม์ลง (ราชวงศ์สุดท้ายในห้าราชวงศ์) ภายในราชสำนักอยู่ในภาวะตึงเครียด ภายนอกเผชิญภัยคุกคามจากทัพเหลียว ปี พ.ศ. 1503 เกิดเหตุเปลี่ยนแปลงที่เฉินเฉียว เจ้า ควงอิ้น ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งแม่ทัพรักษาวังหลวง บัญชาการกองกำลังที่เข้มแข็งที่สุดในเวลานั้น ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มนายทัพใต้ร่มธง บีบให้โจวก้งตี้ วัยเจ็ดขวบสละราชย์ จากนั้นสถาปนาราชวงศ์ซ่งขึ้นแทนที่โฮ่วโจว นักประวัติศาสตร์จีนเรียกว่า เป่ยซ่งหรือซ่งเหนือซ่งไท่จู่ เจ้า ควงอิ้นขึ้นครองราชย์ได้ไม่นาน ก็จัด “งานเลี้ยงสุราปลดอาวุธ” สลายกำลังของนายทหารกลุ่มต่าง ๆ ที่สนับสนุนตนขึ้นสู่บัลลังก์โดยไม่เสียเลือดเนื้อ ด้วยเกรงว่าจะเกิดเหตุการณ์เช่นเดียวกันนี้ขึ้นได้อีก ทั้งเล็งเห็นว่าการที่นายทัพคุมกำลังทหารไว้ ย่อมจะมีอำนาจพลิกฟ้าอยู่ในมือ ซ่งไท่จู่ (เจ้า ควงอิ้น) จึงใช้วิธีการเดียวกันในการโอนถ่ายอำนาจทางทหารของแม่ทัพรักษาชายแดนเข้าสู่ส่วนกลาง นอกจากนี้ เพื่อลิดรอนอำนาจขุนนางที่อาจส่งผลคุกคามต่อราชบัลลังก์ในภายภาคหน้า จึงออกกฎระเบียบใหม่ ให้มีเพียงขุนนางระดับสูงเท่านั้นที่สามารถเข้าเฝ้าเพื่อปรึกษาราชกิจ โดยมีกษัตริย์เป็นผู้ตัดสินชี้ขาด ขุนนางเป็นเพียงผู้รับไปปฏิบัติ ไม่ได้มีหน้าที่ให้คำปรึกษาชี้แนะข้อราชการดังเช่นแต่ก่อน นับแต่นั้นมา อำนาจเด็ดขาดทั้งมวลจึงตกอยู่ในมือของกษัตริย์แต่เพียงผู้เดียว เวลานั้น รอบข้างยังประกอบด้วยแว่นแคว้นต่าง ๆ สืบเนื่องมาจากสมัยห้าราชวงศ์สิบแคว้น อาทิ โฮ่วสู หนานฮั่น หนานถัง อู๋เยว่ เป่ยฮั่น เป็นต้น ดังนั้นภารกิจสำคัญของเจ้า ควงอิ้นจึงได้แก่การเปิดศึกรวมแผ่นดิน ทัพซ่งมุ่งลงใต้ ทยอยรวบรวมดินแดนภาคใต้กลับมาอีกครั้ง หลังจากปราบแคว้นหนานถังอันเข้มแข็งได้สำเร็จในปี 974 แว่นแคว้นที่เหลือต่างทยอยเข้าสวามิภักดิ์กับราชวงศ์ซ่ง ปลายรัชกาล เจ้า ควงอิ้นหันทัพมุ่งขึ้นเหนือ หวังรวมแคว้นเป่ยฮั่นที่หลงเหลือเพียงหนึ่งเดียว แต่แล้วสิ้นพระชนม์ลงระหว่างการศึกภาคเหนือในปี 1519 ซ่งไท่จง เจ้ากวงอี้ (ปี พ.ศ. 1519 – พ.ศ. 1540) ที่เป็นพระราชอนุชาจึงขึ้นสืบราชบัลลังก์ สานต่อปณิธานรวมแผ่นดิน โดยรวมแคว้นเป่ยฮั่นสำเร็จในปี พ.ศ. 1522 จากนั้นพยายามติดตามทวงคืนดินแดนที่เคยเสียให้กับเหลียว (ปักกิ่งและต้าถง) กองทัพซ่งเหนือเปิดศึกกับเหลียวหลายครั้ง ขณะที่แคว้นเหลียวก็หาโอกาสรุกลงใต้ กลายเป็นสภาพการเผชิญหน้ากัน จวบกระทั่งปี พ.ศ. 1547 ล่วงเข้ารัชกาลซ่งเจินจง (โอรสของซ่งไท่จง) ซ่งเหนือกับเหลียวบรรลุข้อตกลงร่วมกันที่ฉานหยวน สงครามอันยาวนานจึงยุติลง

สล็อต

ราชวงศ์ซ่งได้ใช้ระบบการรวมศูนย์อำนาจผสมกับการการแต่งตั้งข้าราชการจากส่วนกลางออกไปปกครองหัวเมือง ระบบนี้ทำให้ราชสำนักมีเวลาดูแลกิจการในเมืองหลวงมากขึ้นและในยุคนี้มีการก่อสร้างเมืองไม่เพียงเพื่อการบริหารเท่านั้น ยังเป็นการสร้างเมืองเพื่อเป็นศูนย์กลางการพาณิชย์ อุตสาหกรรม พาณิชย์นาวี หัวเมืองชายฝั่งถูกเชื่อมโยงกับหัวเมืองในแผ่นดินการพัฒนานี้ทำให้เกิดสามัญชนที่ร่ำรวยขึ้นมาโดยไม่ต้องรับราชการอย่างในอดีตจำนวนมาก ในด้านวัฒนธรรมนั้น นอกจากพัฒนาสิ่งที่สืบทอดจากสมัยถังแล้ว ยังมีการบันทึกประวัติศาสตร์ ศิลปะการเขียนภาพ ศิลปะการเขียนพู่กัน และการทำเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแข็ง ลัทธิข่งจื่อมีอิทธิพลเหนือพุทธศาสนาเนื่องจากถูกมองว่าเป็นของต่างประเทศ และไม่มีคำตอบสำหรับการปฏิบัติ และแนวทางสำหรับทางการเมืองและปัญหาพื้นฐานทั่วไป ในขณะที่สำนักข่งฟูจื่อได้พัฒนาสู่ลัทธิข่งจื่อแนวใหม่ โดยการนำเอาปรัชญาแนวคิดดั้งเดิมของข่งจื่อมาสอดแทรกด้วยความเห็น ผสมผสานแนวคิดทางศาสนาพุทธ ลัทธิเต๋า เป็นต้น ลัทธิข่งจื่อแนวใหม่ที่มีอิทธิพลอย่างสูงคือแนวคิดของ ชูสี่ 朱喜 ซึ่งมีแนวคิดในการสอนให้เชื่อฟังฝ่ายเดียว และตำหนิการคัดค้านผู้ปกครอง กล่าวคือ ลูกต้องเชื่อฟังพ่อแม่ ภรรยาเชื่อฟังสามี ผู้น้อยเชื่อฟังผู้อาวุโสกว่า เป็นต้น แนวคิดนี้ถูกปลูกฝังลึกอยู่ในสังคมจีนจนถึงศตวรรษที่ 19 แต่ยังคงมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของชาวเกาหลี และ ญี่ปุ่นจนทุกวันนี้ ปลายรัชกาลซ่งไท่จง/เจ้ากวงอี้ ชนเผ่าตั่งเซี่ยง ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเริ่มมีขุมกำลังเข้มแข็งขึ้น หันไปสวามิภักดิ์กับแคว้นเหลียว ราชสำนักซ่งจึงสั่งปิดชายแดนตัดขาดการติดต่อค้าขายระหว่างกัน ทำให้เกิดธุรกิจค้าเกลือเถื่อน และการปล้นสะดมสินค้าในบริเวณใกล้เคียง สองฝ่ายปะทะกันหลายครั้งแต่ไม่อาจเอาชนะกันได้ ต่อเมื่อ ปี 1006 ภายหลังซ่งทำสัญญาสงบศึกกับเหลียว จึงหันมาผูกมิตรกับซ่งเหนือ เปิดการค้าชายแดนตามปกติจวบกระทั่งปี พ.ศ. 1581 หลี่หยวนเฮ่า ผู้นำคนใหม่ในเวลานั้น สถาปนาแคว้นซี่เซี่ย ขึ้นเป็นผลสำเร็จ ที่เมืองซิ่งโจว (ปัจจุบันคือเมืองอิ๋นชวน มณฑลหนิงเซี่ย) ซีเซี่ยฉีกสัญญาพันธมิตรที่มีมากว่า 30 ปี เริ่มรุกรานเข้าดินแดนภาคตะวันตกของซ่งเหนือ ขณะที่กองทัพซ่งเหนือพ่ายแพ้ครั้งแล้วครั้งเล่า พยายามเรียกร้องให้มีการเจรจากสงบศึกแต่ไม่เป็นผล อย่างไรก็ตาม เมื่อทำศึกเป็นเวลานาน การค้าที่เคยมีต้องประสบกับความเสียหาย ซีเซี่ยกลับเป็นฝ่ายเดือดร้อนเพราะขาดแคลนสินค้าที่จำเป็น สุดท้าย ซีเซี่ยจึงยอมเจรจาสงบศึก โดยซี่เซี่ยยอม “สวามิภักดิ์” กับราชสำนักซ่ง ขณะที่ซ่ง “พระราชทาน” ผ้าไหมแพรพรรณ เงินทองและชาให้กับซีเซี่ย สองฝ่ายต่างรื้อฟื้นเส้นทางค้าขายระหว่างกันดังเดิม

สล็อตออนไลน์

อย่างไรก็ดีในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาติมหาอำนาจยุโรปเริ่มตระหนักถึงความอ่อนแอของจักรวรรดิออตโตมันมากขึ้น และเริ่มตั้งคำถามว่า ควรจะดำเนินการอย่างไรกับดินแดนภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน หากจักรวรรดิออตโตมันมีอันต้องล่มสลาย โดยไม่ให้ส่งผลกรทบต่อดุลยอำนาจในยุโรป ในศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิออตโตมันได้รับฉายาว่า เป็นคนป่วยแห่งยุโรป ฉายาดังกล่าว พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย เป็นผู้ตั้งในเชิงดูหมิ่นเหยียดหยามออตโตมัน ที่ได้เข้าร่วมสงครามไครเมีย (Crimea War) กับอังกฤษและฝรั่งเศส เพื่อต่อต้านรัสเซีย ในปี พ.ศ. 2397 (ค.ศ. 1854) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ซึ่งเสด็จเยือนจักรวรรดิออตโตมันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทรงวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมืองในช่วงนั้น โดยทรงวิเคราะห์ไว้ว่า แม้ว่าจักรวรรดิออตโตมันจะเสื่อมอำนาจ แต่ชาติตะวันตกก็ยังลังเลที่จะเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ ที่เป็นเมืองขึ้นของเติร์กทั้งหมด เนื่องจากเหตุผล 2 ประการ

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

ก้งกง

พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ เป็นพระโพธิสัตว์อัครสาวกของพระอมิตาภพุทธะเช่นเดียวกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แต่มีคนรู้จักน้อยกว่า ถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ด้านกำลัง สะท้อนพลังจิตที่เข้มแข็งของพระพุทธเจ้า ใกล้เคียงกับความหมายของพระสมันตภัทรโพธิสัตว์ รูปลักษณ์ของท่านอยู่ในท่ายืน จะทรงถือดอกปัทมาในพระหัตถ์บางครั้งจะทรงประณมหัตถ์ไว้ที่พระอุระ บางครั้งจะทรงถึงวัชระ บางตำราบอกว่ามือซ้ายอยู่ในท่าประทาน มือขวาอยู่ในท่าคิด บางครั้งมือทั้งสองจะประสานกันในท่าไขว้ นิกายสุขาวดีกำหนดให้ท่านเป็นผู้คุ้มครองดวงจิตของผู้ที่จะไปอุบัติในแดนสุขาวดี ในอีกแนวหนึ่งเชื่อว่าพระมหาสถามปราปต์พัฒนามาจากพระอินทร์ของศาสนาพราหมณ์ เนื่องจากลักษณะในยุคแรกของท่านถือวัชระเช่นเดียวกับพระอินทร์ ต่อมามีการสร้างพระโพธิสัตว์องค์ใหม่ เรียกว่าพระวัชรปาณีโพธิสัตว์ แยกออกมาจากพระมหาสถามปราปต์ ความนิยมนับถือพระมหาสถามปราปต์จึงลดลง ความหมายต่าง ๆ ของท่านได้หลอมรวมกลายเป็นส่วนหนึ่งของพระโพธิสัตว์องค์อื่นๆไปในมหาไวโรจนะสูตรมี พระหฤทัยประจำพระองค์​ โอม​ สัม​ ชัม​ ชัม​ สะห์สวาหาพระอมิตาภพุทธะ (สันสกฤต: अमिताभ बुद्ध) เป็นพระธยานิพุทธะที่ประทับในแดนสุขาวดี ซึ่งเป็นพุทธเกษตรแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก พระองค์มีรูปกายเป็นสีแดง นับถือกันมากในนิกายสุขาวดี ควบคู่กับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์หรือเจ้าแม่กวนอิม แต่ไม่เป็นที่ยอมรับในนิกายเถรวาท เพราะไม่มีกล่าวถึงในพระไตรปิฎกภาษาบาลี มหาสุขาวตีวยูหสูตรระบุว่าก่อนจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระอมิตาภะเคยเกิดเป็นกษัตริย์ชื่อ “พระเจ้าธรรมกร” ต่อมาผนวช และได้แสดงปณิธาน 48 ประการเฉพาะพระพักตร์พระโลเกศวรราชพุทธะ ว่าขอให้มีพระองค์ได้มีพุทธเกษตรแห่งหนึ่งเป็นโลกธาตุดินแดนบริสุทธิ์ไว้ช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์มีชื่อว่าสุขาวดี อมิตาพุทธสูตรยังระบุว่าพระอมิตาภะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อสิบกัปที่แล้ว หลังจากปรินิพพานจึงประทับ ณ สุขาวตีพุทธเกษตรนั้น ซึ่งเป็นที่ใช้ในประกาศพระธรรม ไม่มีอบายภูมิ มีแต่โพธิสัตวภูมิ เพื่อเป็นการสงเคราะห์สรรพสัตว์ให้เข้าสู่นิพพานต่อไป เชื่อกันว่าเมื่อพระอมิตาภพุทธะเสด็จปรินิพพานแล้ว พระอวโลกิเตศวรจะทรงบรรลุเข้าเป็นพระพุทธเจ้าในแดนสุขาวดีแทน

jumbo jili

พระองค์มีหลายพระนาม เช่น อมิตายุส (อ่านว่า ยุส – สะ) แปลว่า พระผู้มีอายุกาลไม่มีประมาณ และอมิตาภะ แปลว่า พระผู้มีแสงส่องสว่างไม่มีประมาณ เป็นพระธยานิพุทธะ 1 ใน 5 พระองค์ ประทับอยู่ทางตะวันตกของพุทธมณฑล พระกายสีแดงก่ำ เป็นต้นตระกูลของพระโพธิสัตว์ตระกูลปัทมะ หมายถึงปัญญาที่ทำให้มนุษย์รู้จักผิดชอบชั่วดี และเลือกปฏิบัติในทางที่ถูก สัญญลักษณ์คือดอกบัว พระพุทธเจ้าในตระกูลนี้ทั่วไปใช้บัวแดง พระโพธิสัตว์ปางดุใช้บัวขาว ภาพวาดของพระองค์มักวาดให้พระหัตถ์ยาวหมายถึงความสามารถที่จะเอื้อมพาสรรพสัตว์เข้าสู่แดนสุขาวดี มีพระชิวหายาวตระหวัดได้รอบโลกหมายถึงความสามารถในการแสดงธรรมได้ทั่วโลก ทรงนกยูงเป็นพาหนะนับถือส่วนใหญ่ในพุทธศาสนานิกายมหายาน ควบคู่กับพระอวโลกิเตศวรหรือเจ้าแม่กวนอิมในภาษาไทย ท่านเป็นพระพุทธเจ้าในสุขาวดีพุทธภูมิห่างจากโลกมนุษย์ ทางทิศตะวันตกสิบล้านล้านกิโลเมตร ใช้เวลาสร้าง 5 กัป จึงสำเร็จเป็นอาณาจักรหนึ่ง ชื่อ แดนสุขาวดี (เก็กลกซือไก) จุดประสงค์ในการสร้าง เพื่อเป็นที่อยู่ของสัตว์โลกที่สำเร็จธรรม ขอเพียงมีปณิธานแน่วแน่จริงใจและสวดคำว่า อามีทอฝอ (แต้จิ๋ว: อานีทอฮุก) อยู่เสมอ ยามใกล้จะสิ้นใจจะปรารถนาที่จะลาโลกไป พระอมิตาภพุทธะ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ จะเสด็จมารับไปยังแดนสุขาวดี ดังเช่นหลวงจีนในนิกายมหายานนิยมท่องกัน เพราะเป็นความเชื่อส่วนนิกาย ไม่ได้บันทึกไว้ในพระไตรปิฏก และไม่พบในนิกายเถรวาท

สล็อต

เรื่องราวในบทกวีบรรยายถึงเหตุการณ์ในปีที่สิบซึ่งเป็นปีสุดท้ายของเหตุการณ์ที่ชาวกรีกบุกยึดนครอีเลียน หรือเมืองทรอย คำว่า “อีเลียด” หมายถึง “เกี่ยวกับอีเลียน” (ภาษาละตินเรียก อีเลียม (Ilium)) อันเป็นชื่อเรียกส่วนนครหลวง ซึ่งแตกต่างกับ ทรอย (ตุรกี: Truva; กรีก: Τροία, Troía; ละติน: Troia, Troiae) อันหมายถึงนครรัฐที่อยู่ล้อมรอบอีเลียม แต่คำทั้งสองคำนี้มักใช้รวม ๆ กันหมายถึงสถานที่แห่งเดียวกันคำเปิดเรื่อง อีเลียด ของโฮเมอร์ คือ μῆνιν (mēnin) ซึ่งเป็นภาษากรีกโบราณ หมายถึง “โทสะ” เป็นการประกาศถึงธีมหลักของเรื่อง อีเลียด นั่นคือ “โทสะของอคิลลีส” เมื่ออักกะเมมนอน ผู้นำกองทัพกรีกบุกเมืองทรอย ได้หมิ่นเกียรติของอคิลลีสโดยการชิงตัวนางไบรเซอีส ทาสสาวนางหนึ่งซึ่งตกเป็นของขวัญชนะศึกของอคิลลีสไปเสีย อคิลลีสจึงถอนตัวจากการรบ แต่เมื่อปราศจากอคิลลีสกับทัพของเขา กองทัพกรีกก็ต้องพ่ายต่อเมืองทรอยอย่างย่อยยับ จนเกือบจะถอดใจยกทัพกลับ แต่แล้วอคิลลีสกลับเข้าร่วมในการรบอีก หลังจากเพื่อนสนิทของเขาคือ ปโตรกลัส ถูกสังหารโดยเฮกเตอร์เจ้าชายเมืองทรอย อคิลลีสสังหารชาวทรอยไปเป็นจำนวนมากรวมทั้งเฮกเตอร์ แล้วลากศพเฮกเตอร์ประจาน ไม่ยอมคืนร่างผู้เสียชีวิตให้มาตุภูมิซึ่งผิดธรรมเนียมการรบ จนในที่สุดท้าวเพรียม บิดาของเฮกเตอร์ ต้องมาไถ่ร่างบุตรชายกลับคืน มหากาพย์ อีเลียด สิ้นสุดลงที่งานพิธีศพของเฮกเตอร์ โฮเมอร์บรรยายภาพการศึกไว้ในมหากาพย์อย่างละเอียด เขาระบุชื่อนักรบจำนวนมาก เอ่ยถึงถ้อยคำที่ด่าทอ นับจำนวนครั้งที่เปล่งเสียงร้อง รวมถึงรายละเอียดในการปลิดชีวิตฝ่ายศัตรู การสิ้นชีวิตของวีรบุรุษแต่ละคนส่งผลให้การสงครามรุนแรงหนักยิ่งขึ้น ทัพทั้งสองฝ่ายต่างเข้าแย่งชิงเสื้อเกราะเครื่องอาวุธ และแก้แค้นต่อผู้ที่สังหารคนของตน นักรบที่โชคดีมักรอดพ้นไปได้ด้วยฝีมือขับรถของสารถี หรือด้วยการช่วยเหลือป้องกันของเหล่าเทพ รายละเอียดสงครามของโฮเมอร์นับเป็นงานวรรณกรรมที่โหดเหี้ยมและมีผู้เสียชีวิตมากที่สุด มหากาพย์ อีเลียด มีนัยยะทางศาสนาและสิ่งเหนือธรรมชาติอยู่มาก กองทัพทั้งสองฝ่ายต่างเคร่งครัดศรัทธาต่อเทพเจ้าของตน และต่างมีนักรบที่สืบเชื้อสายมาจากเหล่าเทพด้วย พวกเขามักเซ่นสรวงบูชาเทพเจ้า ขอคำปรึกษาจากพระ และแสวงหาคำพยากรณ์เพื่อตัดสินใจว่าควรจะทำอย่างไรต่อไป พวกเทพเจ้ามักเข้าร่วมในการรบ ทั้งโดยการให้คำแนะนำและช่วยเหลือปกป้องนักรบคนโปรด บางคราวก็ร่วมรบด้วยตนเองกับพวกมนุษย์หรือกับเทพเจ้าองค์อื่น ๆ

สล็อตออนไลน์

ตัวละครหลักของมหากาพย์ อีเลียด จำนวนมากมีส่วนเชื่อมโยงสงครามเมืองทรอยเข้ากับตำนานปรัมปราอื่น ๆ เช่น ตำนานเจสันกับขนแกะทองคำ ตำนานกบฏเมืองธีบส์ และการผจญภัยของเฮราคลีส (เฮอร์คิวลีส) ตำนานปรัมปราของกรีกโบราณเหล่านี้มีเรื่องเล่ามาในหลากหลายรูปแบบ โฮเมอร์จึงค่อนข้างมีอิสระในการเลือกเอารูปแบบตามที่เขาต้องการเพื่อนำมาประกอบในมหากาพย์ รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดดูใน ตำนานกรีกโบราณ เรื่องราวในมหากาพย์ อีเลียด ครอบคลุมช่วงเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ในช่วงปีที่สิบและปีสุดท้ายของสงครามเมืองทรอย มิได้เล่าถึงความเป็นมาของการศึกและเหตุการณ์ในช่วงต้น (คือเรื่องที่ปารีสลักพานางเฮเลนมาจากกษัตริย์เมนนิเลอัส) และมิได้เอ่ยถึงเหตุการณ์ตอนสิ้นสุดสงคราม (คือการตายของอคิลลีส และการล่มสลายของเมืองทรอย) อย่างไรก็ดีมีบทกวีมหากาพย์เรื่องอื่นที่บรรยายความต่อจากนี้ แต่หลงเหลือรอดมาถึงปัจจุบันเพียงเล็กน้อย มีเนื้อความกระจัดกระจายเป็นส่วน ๆ ไม่ต่อเนื่อง รายละเอียดของสงครามทั้งหมด โปรดดูจากบทความเรื่อง สงครามเมืองทรอย บทกวีเริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวกรีกได้จับตัวนางไครเซอีส บุตรีของไครสิสนักบวชประจำวิหารของอพอลโลมาแล้ว และมอบนางให้เป็นรางวัลแก่อะกาเมมนอนกษัตริย์แห่งไมซีนี และผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพกรีก เทพอพอลโลจึงบันดาลให้เกิดโรคระบาดในกองทัพกรีก เพื่อบีบบังคับให้อะกาเมมนอนคืนตัวนางไครเซอีสให้แก่บิดาของนาง อะกาเมมนอนจึงไปบังคับเอาตัวนางไบรเซอีสจากอคิลลีสมาแทน นางไบรเซอีสเป็นทาสชาวเอเคียนที่มอบให้เป็นรางวัลแก่อคิลลีส นักรบผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งยุค อคิลลีสรู้สึกน้อยใจจึงถอนตัวออกจากการรบ ฝ่ายเมืองทรอยนั้นมีเจ้าชายเฮกเตอร์ โอรสของท้าวเพรียม เป็นแม่ทัพนำศึกป้องกันเมืองและปกป้องครอบครัวของตน เมื่ออคิลลีสไม่ยอมร่วมรบด้วย เฮกเตอร์จึงสามารถมีชัยชนะเหนือกองทัพกรีก นักรบกรีกที่เหลืออยู่ รวมถึงโอดิซูสและดิโอมีดีส ต่างได้รับบาดเจ็บ ด้วยเวลานั้นปวงเทพต่างเข้าข้างฝ่ายเมืองทรอย ปโตรกลัสจึงปลอมตัวเป็นอคิลลีสโดยนำเสื้อเกราะของเขามาสวม และนำทัพชาวเมอร์มิดอนกลับเข้าร่วมรบเพื่อช่วยป้องกันเรือของพวกกรีกไม่ให้ถูกเผาทำลาย ปโตรกลัสถูกเฮกเตอร์สังหารสิ้นชีพ อคิลลีสจึงกลับเข้าร่วมรบเพื่อแก้แค้นให้ปโตรกลัส เขาสังหารเฮกเตอร์ได้สำเร็จด้วยการประลองตัวต่อตัว แล้วเอาร่างของเฮกเตอร์กลับไปค่ายด้วย ท้าวเพรียมลอบเข้าค่ายทัพกรีก (ด้วยความช่วยเหลือของเทพเฮอร์มีส) เพื่อไถ่ร่างของบุตรชายคืน อคิลลีสเกิดความสงสารจึงคืนให้ บทกวีจบลงที่การพิธีศพของเฮกเตอร์

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

เหอเซียนกู

ไฉ่สิ่งเอี้ย หรือ จ่ายสินเอี้ย (จีน: 财神; พินอิน: Cái-shén; อังกฤษ: Cai Shen, God of wealth, God of fortune) เป็นเทพเจ้าของจีนที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ตรุษจีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว โดยคำว่า “ไฉ่สิ่ง” หรือ “ไฉซิ้ง” มีความหมายว่า “ทรัพย์สิน” หรือ “สิริมงคล” “เอี้ย” หมายถึง “เทพเจ้า” โดยเทพที่ได้รับการนับถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ย มีด้วยกันหลายองค์ แต่องค์ที่ได้รับการบูชามากที่สุด คือ ฟ่านหลี และปี่ กั้น ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบุ๋น ขณะที่จ้าวกงหมิง และกวนอู ถือเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบู การบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น ไฉ่สิ่งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง คือ ในวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00–01.00 น. ของวันตรุษจีน โดยทำการบูชาที่ดาดฟ้าบ้านหรือหลังคาบ้าน หรือระเบียงบ้านชั้นสองหรือสาม หรือหน้าบ้านก็ได้ ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้, อาหารเจ, บัวลอย, สาคู หรือของรับประทานต่าง ๆ ที่มีสีสันสดใส แต่ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มาตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น และเมื่อธูปที่ใช้บูชาใกล้มอดให้รีบนำเข้าบ้าน และปิดประตูหน้าต่างให้สนิท เพื่อให้ควันธูปที่เหลือนั้นตลบอบอวลอยู่ภายในบ้าน เชื่อว่าเป็นการอัญเชิญไฉ่สิ่งเอี้ยเข้ามาประทับในบ้าน เทพเจ้าจีนแบ่งเป็นสองประเภท คือ เทพเจ้าและบุคคลศักดิ์สิทธิ์ที่มาจากพระพุทธศาสนาแบบจีนและทิเบตซึ่งรับมาจากชมพูทวีปและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นภาษาจีนและ เทพเจ้าบุคคลศักดิ์สิทธิ์ดั้งเดิมซึ่งมีที่มาจากศาสนาพื้นบ้านจีน ลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า.ตามคติศาสนาพุทธ เทพ (บาลี: ;สันสกฤต: देव เทว) หมายถึงชาวสวรรค์ ถ้าเป็นเพศชายเรียกว่าเทพบุตร เพศหญิงเรียกว่าเทพธิดา และเรียกโดยรวมว่าเทวดา ในบางกรณีอาจครอบคลุมถึงพระพรหมทั้งหลายในพรหมโลกด้วย

jumbo jili

นอกจากนั้นยังตามความเชื่อของคนไทย สถานที่ศักสิทธิ์ที่มีการบูชาและเคารพมักจะเป็นที่สถิตย์ของเทวดา หมายรวมไปถึง บรรดา ต้นไม้ที่อายุเก่าแก่ โบราณสถานและโบราณวัตถุต่าง ๆ ก็มักมีเทวดาสถิตย์อยู่ ยูฟรอซินี (อังกฤษ: Euphrosyne; กรีก: Εὐφροσύνη) เป็นเทพีองค์หนึ่งในสามองค์ในกลุ่มเทพีชาริทีสในตำนานเทพเจ้ากรีกที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า “Three Graces” (ไตรเทพี) เทพียูฟรอซินีเป็นธิดาของซูสและยูรีโนเม (Eurynome) และเป็นเทพีแห่งความสง่าและความงาม และความร่าเริง เทพียูฟรอซินีปรากฏเป็นหนึ่งในสามเทพีในรายละเอียดของภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” โดยซันโดร บอตตีเชลลีฤดูใบไม้ผลิ (อังกฤษ: Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี ค.ศ. 1551 จอร์โจ วาซารีกล่าวถึงภาพนี้ว่าเป็นการประกาศถึงการมาถึงของฤดูใบไม้ผลิ (อิตาลี: “Primavera”) ที่เป็นภาพที่อยู่ในคฤหาสน์เมดิชิในคาสเตลโลไม่ไกลจาก “คฤหาสน์เพตราเอีย” ลอเรนโซ ดิ ปิแอร์ฟรานเชสโค เดอ เมดิชิ (Lorenzo di Pierfrancesco de’ Medici) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของลอเรนโซ เดอ เมดิชิซื้อคฤหาสน์นี้ในปี ค.ศ. 1477 ซึ่งทำให้สรุปว่าภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่เขียนให้ปิแอร์ฟรานเชสโคเมื่อมีอายุ 14 ปีเมื่อซื้อคฤหาสน์ จากการสำรวจทรัพย์สินของปิแอร์ฟรานเชสโคและน้องชายจิโอวานนิ (Giovanni il Popolano) ในปี ค.ศ. 1499 กล่าวถึง ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ว่าตั้งแสดงอยู่ที่วังในเมืองฟลอเรนซ์ในห้องรอที่ติดกับห้องของปิแอร์ฟรานเชสโค

สล็อต

ภาพเขียนขนาดใหญ่เช่นนี้เป็นเรื่องปกติสำหรับครอบครัวที่มีฐานะมั่งคั่ง แต่ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงการเขียนรูปสัญลักษณ์คลาสสิกและการวางรูปแบบของงานเขียนแบบเรอเนซองส์ ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพของเทพีวีนัสขนาดเท่าตัวคนยืนกึ่งเปลือยอยู่กลางภาพ ภาพนี้เป็นภาพที่ผู้ชมจะเข้าใจความหมายของภาพได้ก็ด้วยการมีความรู้อันลึกซึ้งในวรรณกรรมของยุคเรอเนซองส์และความสามารถในการประสานทัศน์ต่างๆ เข้าด้วยกัน (syncretism) ขณะที่ตัวแบบบางตัวในภาพมาจากแรงบันดาลใจจากประติมากรรมโบราณแต่มิใช่เป็นงานก็อปปีงานโดยตรงแต่เป็นการเขียนแบบตีความหมายตามความคิดของบอตติเชลลี ที่ตัวแบบมีลักษณะเพรียว, รูปทรงที่เป็นแบบอุดมคติอันสูงส่ง และ มีลักษณะการวางท่าแบบราชสำนักของคริสต์ศตวรรษที่ 16 แบบแมนเนอริสม์ วีนัสยืนอยู่กลางภาพห่างจากตัวแบบอื่นๆ โดยมีคิวปิดเล็งศรแห่งความรักไปยังเทพีชาริทีส (Charites) หรือ “ไตรเทพี” ผู้ที่กำลังเต้นรำอยู่เป็นกลุ่มอยู่ทางด้านซ้ายของภาพ เทพีองค์ไกลไปทางขวาเป็นใบหน้าของคาเทอรินา สฟอร์ซา (Caterina Sforza) ที่บอตติเชลลีเขียนเป็นภาพเหมือนต่างหากในภาพ “แคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” สวนของวีนัสผู้เป็นเทพีแห่งความรักได้รับการอารักขาโดยเทพเมอร์คิวรีผู้กำลังเอื้อมมืออกไปแตะผลไม้ เมอร์คิวรีแต่งตัวด้วยเสื้อสีแดงอย่างหลวมๆ สวมหมวกเหล็กและห้อยดาบที่เป็นการแสดงว่าเป็นผู้อารักขาสวน การเป็นผู้สื่อข่าวจากพระเจ้าก็บอกได้จากรองเท้าที่มีปีกและคทางูเดี่ยวที่เมอร์คิวรีใช้ในการแยกงูสองตัวและรักษาความสงบ บอตติเชลลีเขียนภาพงูเป็นมังกรมีปีก จากทางด้านขวาเซไฟรัสเทพเจ้าแห่งลมพยายามออกมาไล่นิมฟ์คลอริส ทางซ้ายของคลอริสคือเทพีฟลอราเทพีแห่งฤดูใบไม้ผลิผู้กำลังโปรยดอกไม้ที่อาจจะเป็นภาพของซิโมเนตตา เวสพุชชิ (Simonetta Vespucci) รายละเอียดของไตรเทพีหลังจากที่ภาพได้รับการทำความสะอาดแล้ว ทางด้านขวาเป็นภาพของคาเทอรินา สฟอร์ซา ภาพนี้ได้รับการตีความหมายกันไปต่างๆ ที่รวมทั้งความหมายทางการเมืองว่าความรักคือโรม, ไตรเทพี (three Graces) คือปิซา เนเปิลส์ และ เจนัว, เมอร์คิวรีคือมิลาน, ฟลอราคือฟลอเรนซ์, เมย์คือมานตัว, คลอริสและเซพไฟร์คือเวนิสและโบลซาโน (หรืออเร็ซโซและฟอร์ลิ) นอกจากความหมายต่างๆ ที่ว่าแล้วภาพนี้ก็ยังแสดงถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง เป็นภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมร่วมสมัยและเป็นการแสดงออกของเนื้อหาของวรรณกรรมคลาสสิก แหล่งข้อมูลหนึ่งของฉากที่เขียนอาจจะมาจากกวีนิพนธ์ “Fasti” โดยโอวิด ที่เป็นโคลงที่บรรยายปฏิทินเทศกาลของโรมันโบราณ สำหรับเดือนพฤษภาคมฟลอราเล่าว่าครั้งหนึ่งเคยเป็นนิมฟ์คลอริสและหายใจออกมาเป็นดอกไม้ พระพายเซพไฟร์หลงใหลในความงามของคลอริสก็ติดตามและเอาเป็นภรรยา และประทานสวนที่งดงามที่เป็นสวนแห่งฤดูใบไม้ผลิตลอดกาลให้ บอตติเชลลีเขียนภาพนี้เป็นสองฉากจากคำบรรยายของโอวิด ฉากแรกเป็นพระพายเซพไฟร์ไล่ตามคลอริสและการแปลงของคลอริสเป็นฟลอรา ที่ทำให้เสื้อผ้าของเทพีทั้งสองค์ที่ดูเหมือนจะไม่เห็นกันถูกโบกไปคนละทาง ฟลอรายืนอยู่ข้างวีนัสโปรยกลีบกุหลาบที่เป็นดอกไม้ของเทพีแห่งความรัก นักเขียนคลาสสิกลูเครเชียสบรรยายไว้ในโคลงคำสอนปรัชญา “De Rerum Natura” ที่สรรเสริญเทพีทั้งสององค์ในฉากฤดูใบไม้ผลิฉากเดียว โคลงนี้บรรยายถึงวีนัส, คิวปิด, เซพไฟร์, ฟลอรา ซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในภาพที่บอตติเชลลีวาด ซึ่งทำให้สันนิษฐานกันว่าโคลงนี้เป็นแหล่งข้อมูลหลักของภาพ

สล็อตออนไลน์

เอิร์นสต์ กอมบริค (Ernst Gombrich) ค้านความสัมพันธ์ระหว่างโคลงของลูเครเชียสกับภาพนี้ว่าเป็นงานของลูเครเชียสเป็นงานที่หนักไปทางปรัชญาที่ไม่น่าจะดึงดูดจิตรกรให้ใช้เป็นแหล่งข้อมูล และสนับสนุนว่า “The Golden Ass” โดยอพูเลียส (Apuleius) ว่าน่าจะเป็นแหล่งข้อมูลของภาพมากกว่า ที่เป็นโคลงที่บรรยายภาพเขียนที่หายไปอย่างละเอียด และเป็นงานนี้ก็เป็นที่นิยมใช้เป็นแรงบันดาลใจในบรรดาศิลปินยุคเรอเนซองส์กันมาก โคลงของอพูเลียสเป็นสัญลักษณ์ของทางเลือกของวีนัสในฐานะเทพีผู้มีความงามที่สุด ทางเลือกที่นำไปสู่สงครามเมืองทรอยที่บรรยายโดย โฮเมอร์ ใน “อีเลียด” สำหรับมาร์ซิลิโอ ฟิชีโนครูของโลเรนโซแล้ววีนัสเป็นสัญลักษณ์ของ “Humanitas” ฉะนั้นภาพเขียนจึงเป็นการเชิญชวนให้เลือกคุณค่าของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ แต่แคทธริน ลินด์สคูกยังเชื่อว่า “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพของสวนอีเดน จาก “ไตรภูมิดานเต” โดยดานเต จากการตีความหมายนี้บุคคลในภาพจากซ้ายไปขวาก็จะเป็น อาดัม, คุณธรรมสามประการ, เบียทริซ พอร์ตินาริ, มาทิลดา, อีฟ และ ซาตาน เลออโคออน (อังกฤษ: Laocoön กรีก: Λαοκόων) เป็นลูกของอะโคทีส (Acoetes) เป็นนักบวชโทรจันของโพไซดอนในตำนานเทพเจ้ากรีก (หรือเทพเนปจูน) แต่เลออโคออนไปละเมิดกฎอาจจะด้วยการแต่งงานและมีลูก หรืออาจจะโดยการปฏิบัติตัวในทางที่ไม่เหมาะสมโดยการไปสมสู่กับภรรยาต่อหน้ารูปเคารพในวัด บทบาทของเลออโคออนในตำนานสงครามเมืองทรอยคือไปพยายามเตือนฝ่ายทรอยไม่ให้รับม้าโทรจันจากฝ่ายกรีก ซึ่งทำความพิโรธให้แก่เทพเจ้าผู้ส่งงูทะเลสองตัวจากเกาะเทเนดอสมาเข่นฆ่า ม้าโทรจัน หรือ ม้าไม้เมืองทรอย (อังกฤษ: Trojan horse) เป็นม้าขนาดใหญ่ที่ทำจากไม้ จากมหากาพย์อีเลียดเรื่องสงครามเมืองทรอย ม้าไม้นี้เกิดขึ้นจากอุบายของโอดิสเซียส ในการบุกเข้าเมืองทรอย ที่มีป้อมปราการแข็งแรง หลังจากที่รบยืดเยื้อมานานถึง 10 ปีแล้ว ด้วยการให้ทหารสร้างม้าไม้นี้ขึ้นมา แล้วลากไปวางไว้หน้ากำแพงเมืองทรอย แล้วให้ทหารกรีกแสร้งทำเป็นล่าถอยออกไป เมื่อชาวทรอยเห็นแล้วเข้าใจว่าเป็นบรรณาการที่ทางฝ่ายกรีกสร้างขึ้นมาเพื่อบูชาเทพเจ้าและล่าถอยไปแล้ว จึงลากเข้าไปไว้ในเมืองและฉลองชัยชนะ เมื่อตกดึก ทหารกรีกที่ซ่อนตัวอยู่ในม้าไม้ ก็ไต่ลงมาเผาเมืองและปล้นเมืองทรอยได้เป็นที่สำเร็จ ปัจจุบัน ม้าโทรจัน ได้กลายมาเป็นสำนวนในภาษาอังกฤษ และเป็นชื่อของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เมืองชานักกาเล ประเทศตุรกี ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของเมืองทรอยจริงตามประวัติศาสตร์ ทางผู้สร้างภาพยนตร์เรื่อง Troy เมื่อปี ค.ศ. 2004 ก็ได้มอบม้าไม้ตัวที่ใช้ในเรื่องให้แก่เมือง ซึ่งกลายเป็นจุดสนใจและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของเมืองด้วย[โอดิสเซียส หรือ โอดิสซูส (กรีก: Ὀδυσσεὺς, โอ-ดุส-เซวส์ [odysse͜ús]) นอกจากนี้ยังรู้จักกันในชื่อภาษาละตินว่า ยูลิสซิส (ละติน: Ulysses) เป็นตัวเอกในมหากาพย์เร่องโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ และยังมีบทบาทสำคัญในการสู้รบที่กรุงทรอย ซึ่งถ่ายทอดผ่านมหากาพย์อีเลียดของกวีคนเดียวกันอีกด้วย

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

หลี่เถียไกว่

เทพเจ้าโชคลาภทั้งเจ็ด (ญี่ปุ่น: 七福神 โรมาจิ: Shichi Fukujin ทับศัพท์: ชิจิฟุกุยิน) คือเหล่าเทพเจ้าแห่งโชคลาภซึ่งเป็นที่นับถือกันมากในประเทศญี่ปุ่น ตามเทพนิยายและเรื่องเล่าต่อๆกันมา เทพทั้งเจ็ด มักสื่อออกมาในรูปเครื่องรางต่างๆทีจำหน่ายตามศาลเจ้า หรือ ของรูปแบบอื่นๆ ซึ่งเทพเจ้า มักเดินทางจากสวรรค์มาโดยเรือ ซึ่งได้ชื่อว่า “เรือมหาสมบัติ” เอบิสึ เทพแห่งชาวประมงและการค้าขาย มักพบเห็นท่านถือปลาและเบ็ดตกปลาเสมอ เอบิซุเป็นเทพเจ้าองค์เดียวในหมู่เทพทั้งเจ็ด ที่มีต้นกำเนิดมาจากญี่ปุ่นเองแท้ๆ ไม่ได้เป็นเทพที่ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อต่างชาติ เดิมเทพองค์นี้มีชื่อว่า ฮิรุโกะ ซึ่งแปลว่า บุตรแห่งสายน้ำ ตามร้านอาหารทะเลก็มักนำรูปปั้นเอบิซุมาประดับด้วย ไดโกกุ เทพแห่งความมั่งคั่ง การเพาะปลูก และเทพคุ้มครองข้าวของเครื่องใช้ในบ้าน โดยเฉพาะในห้องครัว เป็นเทพที่มีต้นกำเนิดตามความเชื่อของลัทธิเต๋า (หรือตามตำนานอินเดียคือ พระศิวะ) มักเห็นท่านถือค้อนเงินและถือถุงข้าวสาร พร้อมใบหน้าอันยิ้มแย้มแจ่มใส ในบางครั้งจะพบหนูตัวเล็กๆอยู่ข้างๆท่านด้วย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ ตามร้านขายของมักนำท่านมาประดับเพื่อเป็นสิริมงคล

jumbo jili

บิชามอน: เทพแห่งอัศวินและเหล่านักรบ ตามตำนานของญี่ปุ่นท่านเป็น 1 ใน อสูรปกครองศักดิ์สิทธิทั้ง 4 หรือ เต่าดำแห่งทิศเหนือ ของจีน นั่นเอง หรือถ้าตามตำนานอินเดียท่านเป็นหนึ่งในจตุโลกบาล หรือเทพผู้คุ้มครองทิศทั้งสี่ โดยความเชื่อฝ่ายพุทธหรือพราหมณ์ รู้จักท่านในนามของ ท้าวกุเวร หรือ “ท้าวเวสสุวรรณ” (ชื่อสำเนียงญี่ปุ่นก็ยังมีความใกล้เคียงกับคำว่า เวสสุวรรณ) เทพดาประจำทิศเหนือ นั่นเอง ท่านมีชื่ออื่นตามตำนานอื่นๆในเอเชียด้วย ชื่อต่างๆ ซึ่งล้วนแต่แปลว่า ผู้ฟังมาก (เชื่อกันว่าท่านเป็นเทพที่คอยปกป้องพระพุทธเจ้าขณะที่พระองค์แสดงพระธรรมเทศนา) ตามตำนานญี่ปุ่น บิชามอนเท็น เป็นเทพแห่งสงครามผู้ขับไล่ปีศาจต่างๆที่เป็นอัปมงคล และรวมถึงปกป้องทรัพย์สินในบ้านจากภัยอันตรายต่างๆ โดยมือข้างหนึ่งจะถือหอกเป็นอาวุธ ส่วนอีกข้างหนึ่งถือเจดีย์อันเล็กๆ เบ็นไซเท็น: เทพเจ้าองค์เดียวที่เป็นผู้หญิง เป็นเทพแห่งศิลปะและความงาม มีต้นกำเนิดมาจากประเทศอินเดีย คือองค์เดียวกับ พระสุรัสวดี มักพบท่านในลักษณะของนางฟ้าที่กำลังเล่นเครื่องดนตรีเครื่องสายของญี่ปุ่น (ในตำนานฮินดู พระสุรัสวดีเป็นชายาของพระพรหม และมักทรงพิณในพระหัตถ์เสมอ) ฟุกุโรกุยู: เทพแห่งความสุข ความมั่งคัง และอายุยืน เป็นเทพอาวุโสมีเครายาว หน้าผากสูง มีสมุดที่บันทึกอายุขัยของมนุษย์บนโลก มักพบท่านพร้อมกับ นกกระเรียน เต่า รวมถึงกวางดำ ซึ่งมีความเชื่อว่ากวางที่อายุ 2000 ปี จะเปลี่ยนสีเป็นสีดำ ซึ่งล้วนเป็นสัญลักษณ์แห่งอายุที่ยืนนานทั้งสิ้น เทพองค์นี้ของญี่ปุ่น อันที่จริงต้องถือว่าเป็นการควบรวมเทพของจีนโบราณสามองค์เข้าด้วยกัน คือ ฮก ลก ซิ่ว หรือ ฝู ลู่ โซ่ว ในสำเนียงจีนกลาง (ชื่อ ฟุกุ โรกุ ยุ ก็คือคำจีนว่า ฮก ลก ซิ่ว นั่นเอง และความหมายก็ตรงกัน) แต่รูปลักษณ์ภายนอกของท่าน ใกล้เคียงกับเทพซิ่วหรือเทพอายุวัฒนะของจีนมากที่สุด

สล็อต

โฮเท: เทพเจ้าที่ร่างอ้วนท้วมสมบูรณ์ เป็นเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์และสุขภาพ รูปลักษณ์ของท่านเหมือน พระสังกัจจายน์ด้วย หรือที่รู้จักกันตามตำนานอื่นๆ บางครั้งกล่าวว่า ท่านก็คือองค์เดียวกับ พระศรีอริยเมตไตรย หรือ พระพุทธเจ้าองค์ต่อไปด้วย นอกจากนั้นท่านยังมีรูปลักษณ์ที่เป็นมิตรและร่าเริง จึงเป็นที่รู้จักกันอีกนามหนึ่งคือ พระหัวเราะ รูปปั้นของท่านถูกตั้งตามร้านอาหาร โรงแรม และเป็นเครื่องรางแพร่หลายไปทั่วเอเชีย จูโรยิน: เทพแห่งอายุยืน มักถูกจำสับสนกับ ฟุกุโรกุยู ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกันมาก โดยเป็นเทพอาวุโสถือไม้เท้าและพัด พร้อมด้วยกวางดำเดินตามข้างหลังศาลเจ้า ชาวคาทอลิกเรียกว่าสักการสถาน ตรงภาษาอังกฤษว่า “Shrine” มาจากภาษาละติน “Scrinium” ที่แปลว่า “หีบสำหรับหนังสือหรือเอกสาร” และภาษาฝรั่งเศสเก่า “escrin” ที่แปลว่า “กล่องหรือหีบ” คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อุทิศให้แก่บุคคลสำคัญทางศาสนา บรรพบุรุษ วีรบุรุษ มรณสักขี นักบุญ เทพเจ้าหรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือเป็นที่นับถือผู้เป็นที่สักการะ ในศาลมักจะประกอบด้วยรูปเคารพ วัตถุมงคล หรือสิ่งของต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เป็นที่สักการะ ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อรับสิ่งสักการะเรียกว่า “แท่นบูชา” ศาลเจ้าเป็นสิ่งที่พบในศาสนาแทบทุกศาสนาในโลกที่รวมทั้งศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ศาสนาพื้นบ้านจีน และศาสนาชินโต และการใช้ในทางที่ไม่เกี่ยวกับศาสนาเช่นรำลึกสถานเกี่ยวกับสงคราม ศาลเจ้ามีลักษณะต่างกันไปหลายอย่าง ปูชนียสถานบางแห่งก็ตั้งอยู่ภายในโบสถ์ วัด สุสาน หรือแม้แต่ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย หรือบางครั้งก็จะเป็นแบบที่เคลื่อนย้ายได้ เช่นในลักษณะของ “หีบวัตถุมงคล” ศาลเจ้าบางครั้งก็อาจจะกลายมาเป็นศูนย์กลางที่ประดิษฐานเทวรูปต่าง ๆ

สล็อตออนไลน์

จักรวรรดิออตโตมันได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยสุลต่านสุไลมาน ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1520) – พ.ศ. 2109 (ค.ศ. 1566) ในรัชสมัยของพระองค์ถือเป็นยุคทองของจักรวรรดิ อาณาเขตได้แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล ทิศตะวันตกจรดดินแดนออสเตรีย ทิศตะวันออกจรดคาบสมุทรอาเรเบีย ทิศเหนือจรดคาบสมุทรไครเมีย ทิศใต้จรดซูดานในแอฟริกาเหนือ ชาวตะวันตกได้ขนานพระนามของพระองค์ว่า “สุไลมาน ผู้ยิ่งใหญ่” สำหรับชาวตุรกีพระองค์ได้รับสมัญญานามว่า “สุไลมาน ผู้พระราชทานกฎหมาย” เนื่องจากพระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญในการปฏิรูประบบกฎหมาย สุลต่านสุไลมานสิ้นพระชนม์ในระหว่างทำสงครามที่ฮังการีในปี พ.ศ. 2109 (ค.ศ. 1566) สิริรวมพระชนมายุได้ 74 พรรษา ทรงครองราชย์ยาวนานถึง 46 ปี อดีตอันยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิออตดตมันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยสุลต่านสุไลมานเป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีภาคภูมิใจเป็นอย่างมากเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาติตน สิ้นรัชกาลสุลต่านสุไลมาน จักรวรรดิออตโตมันเข้าสู่ยุคเสื่อม ซึ่งกินระยะเวลายาวนานถึง 300 ปี ก่อนที่จะล่มสลายลงอย่างสิ้นเชิงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สาเหตุที่นำไปสู่ความเสื่อมอำนาจของจักรวรรดิมาจากปัจจัยหลายประการ ที่สำคัญได้แก่ การไร้ความสามารถของสุลต่าน 17 พระองค์ที่ทรงครองราชย์ต่อจากสุลต่านสุไลมานในระหว่างปี พ.ศ. 2099 (ค.ศ. 1566) – พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) การแย่งชิงอำนาจในราชสำนักก็เป็นปัจจัยอันหนึ่งที่นำไปสู่การเสื่อมถอยของจักรวรรดิออตโตมัน สมัยสุลต่านเบยาซิต ที่ 1 (ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 1932 – 1946) โปรดให้จัดการปลงพระชนม์พระอนุชาของพระองค์เอง ทันทีที่ทรงทราบข่าวการสิ้นพระชนม์ของพระบิดา เพื่อตัดปัญหาการแย่งชิงราชสมบัติ การกระทำดังกล่าวได้กลายเป็นประเพณีปฏิบัติสืบมาจนถึงรัชสมัยของสุลต่านเมห์เมดที่ 1 ซึ่งขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2148 (ค.ศ. 1605) โปรดให้เปลี่ยนการสำเร็จโทษมาเป็นการกักบริเวณแทน การกักบริเวณดังกล่าวมีผลอย่างมากต่อสุขภาพจิตเจ้าชายรัชทายาท ซึ่งได้รับการทูลเชิญให้ขึ้นครองราชย์ในภายหลัง สุลต่านหลายพระองค์ทรงมีสุขภาพจิตที่ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากถูกกักบริเวณมาเป็นเวลานาน บางพระองค์ถูกกักบริเวณนานกว่า 20 ปี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา พระราชอำนาจของสุลตานได้ลดลงเป็นอย่างมาก ในขณะที่อำนาจของขุนนางภายใต้การนำของอัครมหาเสนาบดีมีมากขึ้น ในยุคนี้การฉ้อราษฎร์บังหลวง การเล่นพรรคเล่นพวกเกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศอ่อนแอ ในทางเศรษฐกิจ จักรวรรดิก็ประสบปัญหาอย่างมากเช่นกัน ในขณะที่ยุโรปประสบความสำเร็จในการปฏิวัติอุตสาหกรรม มีความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว จักรวรรดิออตโตมันกลับอ่อนแอลงตามลำดับ อย่างไรก็ดี จักรวรรดิก็สามารถประคับประคองตนเองให้อยู่รอดมาได้นานนับร้อยปี เนื่องจากชาติมหาอำนาจในยุโรปไม่ทราบถึงความอ่อนแอภายในจักรวรรดิออตโตมัน

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

ลฺหวี่ ต้งปิน

คิชโชเต็ง เป็นพระโพธิสัตว์แห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์ในคติพระพุทธศาสนามหายาน, วัชรยาน, พุทธแบบจีน, พุทธแบบญี่ปุ่นและเป็นหนึ่งหนึ่งในคณะเทพธรรมบาลของพุทธศาสนาแบบจีน เป็นเทพองค์เดียวกับพระลักษมีในในศาสนาฮินดู[กิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา รอการตรวจสอ ศาสนาพุทธได้เข้ามาในประเทศจีน ดังที่ปรากฏในหลักฐาน เมื่อประมาณ พ.ศ. 608 ในรัชสมัยจักรพรรดิฮั่นหมิง พระองค์ได้จัดส่งคณะทูต 18 คน ไปสืบพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย คณะทูตชุดนี้ได้เดินทางกลับประเทศจีนพร้อมด้วยพระภิกษุ 2 รูป คือ พระกาศยปมาตังคะและพระธรรมรัตนะ รวมทั้งคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาอีกส่วนหนึ่งด้วย เมื่อพระเถระ 2 รูป พร้อมด้วยคณะทูตมาถึงลั่วหยาง จักรพรรดิฮั่นหมิงได้ทรงสั่งให้สร้างวัดเพื่อเป็นที่อยู่ของพระทั้ง 2 รูป นั้นซึ่งมีชื่อว่า วัดแป๊ะเบ๊ยี่ แปลเป็นไทยว่า วัดม้าขาว เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ม้าตัวที่บรรทุกพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากับพระเถระทั้งสอง หลังจากนั้นพระกาศปมาตังตะกับพระธรรมรัตนะได้แปลคัมภีร์พระพุทธศาสนาเป็นภาษาจีนเล่มแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น แม้ว่าพระพุทธศาสนาจะเป็นที่เลื่อมใสแต่ก็ยังจำกัดอยู่ในวงแคบคือ ในหมู่ข้าราชการและชนชั้นสูงแห่งราชสำนักเป็นส่วนใหญ่ ยังไม่แพร่หลายในหมู่ประชาชนชาวเมือง เพราะชาวจีนส่วนใหญ่ยังคงนับถือลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า จนกระทั่งโม่งจื๊อ นักปราชญ์ผู้มีความสามารถยิ่งได้แสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนาให้ชาวเมืองได้เห็นถึงความจริงแท้อันลึกซึ้งของพระพุทธศาสนาเหนือกว่าลัทธิเดิม กับอาศัยความประพฤติอันบริสุทธิ์ของพระสงฆ์เป็นเครื่องจูงใจให้ชาวจีนเกิดศรัทธาเลื่อมใส จนทำให้ชาวเมืองหันมานับถือพระพุทธศาสนามากกว่าลัทธิศาสนาอื่นๆ พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ่งเรืองมาเป็นลำดับ

jumbo jili

ยุคราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) พระพุทธศาสนาก็เจริญสูงสุด เพราะได้รับการสนับสนุนจากพระเจ้าจักรพรรดิตลอดจนนักปราชญ์ราชบัณฑิตต่างๆโดยมีการสร้างวัดขึ้นหลายแห่ง และมีการแปลพระสูตรจากภาษาบาลีเป็นภาษาจีนมากมายพระพุทธศาสนาเริ่มเสื่อมลงเมื่อจักรพรรดิถังอู่จงขึ้นปกครองประเทศ เพราะพระองค์ทรงเลื่อมใสในลัทธิเต๋า พระองค์ได้ทำลายพระพุทธศาสนา เช่น ให้ภิกษุภิกษุณีลาสิกขาบท ยึดวัด ทำลายพระพุทธรูป เผาคัมภีร์ เป็นต้น พระพุทธศาสนาไม่ได้รับการอุปถัมภ์จากราชสำนัก ก็เริ่มเสื่อมลงตั้งแต่บัดนั้น ยุคสาธารณรัฐจีน ใน พ.ศ. 2455 ประเทศจีนได้เปลี่ยน ชื่อ ประเทศเป็นสาธารณรัฐจีน รัฐบาลไม่ได้สนับสนุนในพระพุทธศาสนา แต่สนับสนุนแนวความคิดของลัทธิมากซ์ ซึ่งลัทธิดังกล่าว ได้โจมตีพระพุทธศาสนาตลอดมา และมีการกระทำที่เป็นปฏิปักษ์ต่อพระพุทธศาสนามากขึ้นโดยเอาวัดไปใช้เป็นสถานที่ราชการอื่นๆ สถานการณ์ของพระพุทธศาสนาจึงยังไม่ดีขึ้น ใน พ.ศ. 2465 พระภิกษุชาวจีนรูปหนึ่งชื่อว่าพระอาจารย์ไท่ซวี ได้ช่วยกู้ฐานะของพระพุทธศาสนาไว้บางส่วนคือ ท่านได้ทำการปฏิรูปพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง แม้จะมีกำลังน้อย เริ่มด้วยการตั้งวิทยาลัยสงฆ์ขึ้นที่ วูซัน เอ้หมิง เสฉวน และ หลิ่งนาน เพื่อฝึกผู้นำทางพระพุทธศาสนาให้มีความรู้ทางพระธรรมวินัยและวิชาการทางโลกสมัยใหม่ และนำมาเผยแผ่เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม จนผู้คนเลื่อมใสมากขึ้น จึงตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีนขึ้น ใน พ.ศ. 2472 ความพยายามของพระอาจารย์ไท่ซวี ทำให้ประชาชนและรัฐบาลจีนเข้าใจในพระพุทธศาสนาดีขึ้น ทางราชการได้ออกคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์สินของวัดห้ามนำไปใช้ในกิจการอื่น

สล็อต

ใน พ.ศ. 2473 สาธารณรัฐจีนมีพระภิกษุและภิกษุณีรวม 738,000 รูป มีวัดทั้งสิ้น 267,000 วัด ซึ่งนับว่าพระพุทธศาสนาเจริญในประเทศจีนพอสมควร ยุคสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน พ.ศ. 2492 สาธารณรัฐจีนได้เปลี่ยนชื่อประเทศอีกครั้งหนึ่ง เป็นสาธารณรัฐประชาชนจีน ปกครองด้วยลัทธิคอมมิวนิสต์ ลัทธิคอมมิวนิสต์นี้มีคำสอนที่ขัดแย้งกับพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก พระพุทธศาสนาจึงไม่อาจอยู่ได้ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ในระยะแรกพรรคคอมมิวนิสต์เห็นว่าพระพุทธศาสนายังมีอิทธิพลอยู่ในจิตใจของประชาชนจึงไม่ใช้ความรุนแรง ใน พ.ศ. 2494 รัฐบาลได้ออกกฎหมาย เพิกถอนสิทธิวัดในการยึดครองที่ดิน ซึ่งเป็นการบีบให้พระสงฆ์ต้องลาสิกขาบทโดยทางอ้อม พระภิกษุที่ยังไม่ลาสิกขาก็ต้องไปประกอบอาชีพเอง เช่น ทำไร่ ทำนา เป็นต้น ทั้งที่ยังครองเพศเป็นภิกษุอยู่ และในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรมครั้งใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน พ.ศ. 2509-2512 ได้มีเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนต่อพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมากคือ รัฐบาลได้ยึดวัดเป็นของราชการ ห้ามประกอบศาสนกิจต่างๆ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาถือเป็นความผิดกฎหมาย พระภิกษุถูกบังคับให้ลาสิกขา พระคัมภีร์ต่างๆ ถูกเผา พระพุทธรูปและวัดถูกทำลายไปเป็นอันมาก จากเหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธศาสนา เกือบสูญสิ้นไปจากประเทศจีนเลยทีเดียว เมื่อประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน เหมา เจ๋อตง ได้ถึงแก่อสัญกรรม ใน พ.ศ. 2519 รัฐบาลชุดใหม่ของจีนก็คลายความเข้มงวดลงบ้างและให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาของประชาชนมากขึ้น พุทธศาสนาในปัจจุบัน ในปัจจุบันได้มีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานขึ้นใหม่ ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้รัฐบาลจีนยังให้การสนับสนุนจัดตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีน และสภาการศึกษาพระพุทธศาสนาแห่งประเทศจีนขึ้นในกรุงปักกิ่งอีกด้วย เพื่อเป็นศูนย์กลางการติดต่อเผยแผ่พระพุทธศาสนากับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปัจจุบันนี้ชาวจีนส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาคู่ไปกับลัทธิขงจื๊อ ห้าทหารเสือแห่งจ๊กก๊ก และลัทธิเต๋า ซึ่งปัจจุบันมีผู้นับถือถึง 30 ศาสนาเถรวาทในจีน ในประเทศจีน มีผู้นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาทเฉพาะในมณฑลยูนนาน ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชนกลุ่มน้อยชาวไทลื้อและชาวไทใหญ่ พุทธศาสนาในสิบสองปันนา พุทธศาสนาในสิบสองปันนาเป็นพุทธศาสนาเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรล้านนาหรือเชียงใหม่ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 นิกายเช่นเดียวกับพุทธศาสนาในเชียงใหม่คือ

สล็อตออนไลน์

สำนักวัดสวนดอกหรือฝ่ายสวน ตั้งที่เชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. 1914 แต่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อใดไม่มีหลักฐาน สำนักวัดป่าแดงหรือฝ่ายป่า ตั้งขึ้นที่เชียงใหม่เมื่อราว พ.ศ. 1973 โดยคณะสงฆ์ที่ไปบวชเรียนมาใหม่จากประเทศศรีลังกา ถือวินัยเคร่งครัดกว่าฝ่ายสวน เผยแพร่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อ พ.ศ. 1989 โดยผ่านทางเชียงตุง
พุทธศาสนาในเขตปกครองตนเองไทใต้คง พุทธศาสนาแพร่เข้าสู่เขตปกครองตนเองไทใต้คงเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 19-20 แบ่งออกเป็น 4 นิกายคือ นิกายปายจอง เป็นนิกายที่แพร่เข้ามาก่อนนิกายอื่น ไม่เคร่งวินัย ภิกษุเลี้ยงสัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ ได้ นิกายกึงโยน เป็นนิกายที่แพร่เข้าสู่เมืองขอนเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 ได้รับอิทธิพลจากเชียงใหม่ มีการแบ่งย่อยเป็นโยนสวนกับโยนป่าเหมือนในเมืองเชียงใหม่ เขียนคัมภีร์ด้วยอักษรล้านนา นิกายโตเล เป็นนิกายที่ได้รับอิทธิพลจากพม่าเข้าสู่เมืองมาวเมื่อ พ.ศ. 2294 ถือวินัยเคร่งครัดกว่านิกายอื่น มีการบวชสามเณรีและภิกษุณี นิกายชุติหรือโจติเป็นนิกายที่เกิดขึ้นในใต้คงโดยภิกษุชาวไทใหญ่เห็นว่าพระสงฆ์เดิมถือวินัยหย่อนยาน แพร่เข้าสู่เมืองแจ้ฝางและเมืองมาวเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 เคยแพร่หลายที่เมืองขอนระยะหนึ่งเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 25 แต่ภายหลังพ่ายแพ้นิกายปายจอง คณะสงฆ์นิกายนี้ในเมืองขอนจึงถอนตัวจากเมืองขอนเข้าสู่พม่าไปตั้งศูนย์กลางที่เมืองมีดและเมืองยางในรัฐฉานตามลำดับ ภิกษุในนิกายนี้มีวัตรปฏิบัติต่างจาก 3 นิกายข้างต้น ทั้งภิกษุและฆราวาสต่างเคร่งครัดวินัย เมื่อ พ.ศ. 2532 สำรวจพบว่าชาวพุทธในไต้คง เป็นชาวไทใหญ่ 90% ชาวปะหล่องและชาวอาชาง 10% ในจำนวนนี้นับถือนิกายปายจอง 52% นิกายโตเล 33% นิกายกึงโยน 12% และนิกายชุติ

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot