Monthly Archives: January 2022

ก้งกง

พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ เป็นพระโพธิสัตว์อัครสาวกของพระอมิตาภพุทธะเช่นเดียวกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แต่มีคนรู้จักน้อยกว่า ถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ด้านกำลัง สะท้อนพลังจิตที่เข้มแข็งของพระพุทธเจ้า ใกล้เคียงกับความหมายของพระสมันตภัทรโพธิสัตว์ รูปลักษณ์ของท่านอยู่ในท่ายืน จะทรงถือดอกปัทมาในพระหัตถ์บางครั้งจะทรงประณมหัตถ์ไว้ที่พระอุระ บางครั้งจะทรงถึงวัชระ บางตำราบอกว่ามือซ้ายอยู่ในท่าประทาน มือขวาอยู่ในท่าคิด บางครั้งมือทั้งสองจะประสานกันในท่าไขว้ นิกายสุขาวดีกำหนดให้ท่านเป็นผู้คุ้มครองดวงจิตของผู้ที่จะไปอุบัติในแดนสุขาวดี ในอีกแนวหนึ่งเชื่อว่าพระมหาสถามปราปต์พัฒนามาจากพระอินทร์ของศาสนาพราหมณ์ เนื่องจากลักษณะในยุคแรกของท่านถือวัชระเช่นเดียวกับพระอินทร์ ต่อมามีการสร้างพระโพธิสัตว์องค์ใหม่ เรียกว่าพระวัชรปาณีโพธิสัตว์ แยกออกมาจากพระมหาสถามปราปต์ ความนิยมนับถือพระมหาสถามปราปต์จึงลดลง ความหมายต่าง ๆ ของท่านได้หลอมรวมกลายเป็นส่วนหนึ่งของพระโพธิสัตว์องค์อื่นๆไปในมหาไวโรจนะสูตรมี พระหฤทัยประจำพระองค์​ โอม​ สัม​ ชัม​ ชัม​ สะห์สวาหาพระอมิตาภพุทธะ (สันสกฤต: अमिताभ बुद्ध) เป็นพระธยานิพุทธะที่ประทับในแดนสุขาวดี ซึ่งเป็นพุทธเกษตรแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก พระองค์มีรูปกายเป็นสีแดง นับถือกันมากในนิกายสุขาวดี ควบคู่กับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์หรือเจ้าแม่กวนอิม แต่ไม่เป็นที่ยอมรับในนิกายเถรวาท เพราะไม่มีกล่าวถึงในพระไตรปิฎกภาษาบาลี มหาสุขาวตีวยูหสูตรระบุว่าก่อนจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระอมิตาภะเคยเกิดเป็นกษัตริย์ชื่อ “พระเจ้าธรรมกร” ต่อมาผนวช และได้แสดงปณิธาน 48 ประการเฉพาะพระพักตร์พระโลเกศวรราชพุทธะ ว่าขอให้มีพระองค์ได้มีพุทธเกษตรแห่งหนึ่งเป็นโลกธาตุดินแดนบริสุทธิ์ไว้ช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์มีชื่อว่าสุขาวดี อมิตาพุทธสูตรยังระบุว่าพระอมิตาภะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อสิบกัปที่แล้ว หลังจากปรินิพพานจึงประทับ ณ สุขาวตีพุทธเกษตรนั้น ซึ่งเป็นที่ใช้ในประกาศพระธรรม ไม่มีอบายภูมิ มีแต่โพธิสัตวภูมิ เพื่อเป็นการสงเคราะห์สรรพสัตว์ให้เข้าสู่นิพพานต่อไป เชื่อกันว่าเมื่อพระอมิตาภพุทธะเสด็จปรินิพพานแล้ว พระอวโลกิเตศวรจะทรงบรรลุเข้าเป็นพระพุทธเจ้าในแดนสุขาวดีแทน

jumbo jili

พระองค์มีหลายพระนาม เช่น อมิตายุส (อ่านว่า ยุส – สะ) แปลว่า พระผู้มีอายุกาลไม่มีประมาณ และอมิตาภะ แปลว่า พระผู้มีแสงส่องสว่างไม่มีประมาณ เป็นพระธยานิพุทธะ 1 ใน 5 พระองค์ ประทับอยู่ทางตะวันตกของพุทธมณฑล พระกายสีแดงก่ำ เป็นต้นตระกูลของพระโพธิสัตว์ตระกูลปัทมะ หมายถึงปัญญาที่ทำให้มนุษย์รู้จักผิดชอบชั่วดี และเลือกปฏิบัติในทางที่ถูก สัญญลักษณ์คือดอกบัว พระพุทธเจ้าในตระกูลนี้ทั่วไปใช้บัวแดง พระโพธิสัตว์ปางดุใช้บัวขาว ภาพวาดของพระองค์มักวาดให้พระหัตถ์ยาวหมายถึงความสามารถที่จะเอื้อมพาสรรพสัตว์เข้าสู่แดนสุขาวดี มีพระชิวหายาวตระหวัดได้รอบโลกหมายถึงความสามารถในการแสดงธรรมได้ทั่วโลก ทรงนกยูงเป็นพาหนะนับถือส่วนใหญ่ในพุทธศาสนานิกายมหายาน ควบคู่กับพระอวโลกิเตศวรหรือเจ้าแม่กวนอิมในภาษาไทย ท่านเป็นพระพุทธเจ้าในสุขาวดีพุทธภูมิห่างจากโลกมนุษย์ ทางทิศตะวันตกสิบล้านล้านกิโลเมตร ใช้เวลาสร้าง 5 กัป จึงสำเร็จเป็นอาณาจักรหนึ่ง ชื่อ แดนสุขาวดี (เก็กลกซือไก) จุดประสงค์ในการสร้าง เพื่อเป็นที่อยู่ของสัตว์โลกที่สำเร็จธรรม ขอเพียงมีปณิธานแน่วแน่จริงใจและสวดคำว่า อามีทอฝอ (แต้จิ๋ว: อานีทอฮุก) อยู่เสมอ ยามใกล้จะสิ้นใจจะปรารถนาที่จะลาโลกไป พระอมิตาภพุทธะ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และพระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ จะเสด็จมารับไปยังแดนสุขาวดี ดังเช่นหลวงจีนในนิกายมหายานนิยมท่องกัน เพราะเป็นความเชื่อส่วนนิกาย ไม่ได้บันทึกไว้ในพระไตรปิฏก และไม่พบในนิกายเถรวาท

สล็อต

เรื่องราวในบทกวีบรรยายถึงเหตุการณ์ในปีที่สิบซึ่งเป็นปีสุดท้ายของเหตุการณ์ที่ชาวกรีกบุกยึดนครอีเลียน หรือเมืองทรอย คำว่า “อีเลียด” หมายถึง “เกี่ยวกับอีเลียน” (ภาษาละตินเรียก อีเลียม (Ilium)) อันเป็นชื่อเรียกส่วนนครหลวง ซึ่งแตกต่างกับ ทรอย (ตุรกี: Truva; กรีก: Τροία, Troía; ละติน: Troia, Troiae) อันหมายถึงนครรัฐที่อยู่ล้อมรอบอีเลียม แต่คำทั้งสองคำนี้มักใช้รวม ๆ กันหมายถึงสถานที่แห่งเดียวกันคำเปิดเรื่อง อีเลียด ของโฮเมอร์ คือ μῆνιν (mēnin) ซึ่งเป็นภาษากรีกโบราณ หมายถึง “โทสะ” เป็นการประกาศถึงธีมหลักของเรื่อง อีเลียด นั่นคือ “โทสะของอคิลลีส” เมื่ออักกะเมมนอน ผู้นำกองทัพกรีกบุกเมืองทรอย ได้หมิ่นเกียรติของอคิลลีสโดยการชิงตัวนางไบรเซอีส ทาสสาวนางหนึ่งซึ่งตกเป็นของขวัญชนะศึกของอคิลลีสไปเสีย อคิลลีสจึงถอนตัวจากการรบ แต่เมื่อปราศจากอคิลลีสกับทัพของเขา กองทัพกรีกก็ต้องพ่ายต่อเมืองทรอยอย่างย่อยยับ จนเกือบจะถอดใจยกทัพกลับ แต่แล้วอคิลลีสกลับเข้าร่วมในการรบอีก หลังจากเพื่อนสนิทของเขาคือ ปโตรกลัส ถูกสังหารโดยเฮกเตอร์เจ้าชายเมืองทรอย อคิลลีสสังหารชาวทรอยไปเป็นจำนวนมากรวมทั้งเฮกเตอร์ แล้วลากศพเฮกเตอร์ประจาน ไม่ยอมคืนร่างผู้เสียชีวิตให้มาตุภูมิซึ่งผิดธรรมเนียมการรบ จนในที่สุดท้าวเพรียม บิดาของเฮกเตอร์ ต้องมาไถ่ร่างบุตรชายกลับคืน มหากาพย์ อีเลียด สิ้นสุดลงที่งานพิธีศพของเฮกเตอร์ โฮเมอร์บรรยายภาพการศึกไว้ในมหากาพย์อย่างละเอียด เขาระบุชื่อนักรบจำนวนมาก เอ่ยถึงถ้อยคำที่ด่าทอ นับจำนวนครั้งที่เปล่งเสียงร้อง รวมถึงรายละเอียดในการปลิดชีวิตฝ่ายศัตรู การสิ้นชีวิตของวีรบุรุษแต่ละคนส่งผลให้การสงครามรุนแรงหนักยิ่งขึ้น ทัพทั้งสองฝ่ายต่างเข้าแย่งชิงเสื้อเกราะเครื่องอาวุธ และแก้แค้นต่อผู้ที่สังหารคนของตน นักรบที่โชคดีมักรอดพ้นไปได้ด้วยฝีมือขับรถของสารถี หรือด้วยการช่วยเหลือป้องกันของเหล่าเทพ รายละเอียดสงครามของโฮเมอร์นับเป็นงานวรรณกรรมที่โหดเหี้ยมและมีผู้เสียชีวิตมากที่สุด มหากาพย์ อีเลียด มีนัยยะทางศาสนาและสิ่งเหนือธรรมชาติอยู่มาก กองทัพทั้งสองฝ่ายต่างเคร่งครัดศรัทธาต่อเทพเจ้าของตน และต่างมีนักรบที่สืบเชื้อสายมาจากเหล่าเทพด้วย พวกเขามักเซ่นสรวงบูชาเทพเจ้า ขอคำปรึกษาจากพระ และแสวงหาคำพยากรณ์เพื่อตัดสินใจว่าควรจะทำอย่างไรต่อไป พวกเทพเจ้ามักเข้าร่วมในการรบ ทั้งโดยการให้คำแนะนำและช่วยเหลือปกป้องนักรบคนโปรด บางคราวก็ร่วมรบด้วยตนเองกับพวกมนุษย์หรือกับเทพเจ้าองค์อื่น ๆ

สล็อตออนไลน์

ตัวละครหลักของมหากาพย์ อีเลียด จำนวนมากมีส่วนเชื่อมโยงสงครามเมืองทรอยเข้ากับตำนานปรัมปราอื่น ๆ เช่น ตำนานเจสันกับขนแกะทองคำ ตำนานกบฏเมืองธีบส์ และการผจญภัยของเฮราคลีส (เฮอร์คิวลีส) ตำนานปรัมปราของกรีกโบราณเหล่านี้มีเรื่องเล่ามาในหลากหลายรูปแบบ โฮเมอร์จึงค่อนข้างมีอิสระในการเลือกเอารูปแบบตามที่เขาต้องการเพื่อนำมาประกอบในมหากาพย์ รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดดูใน ตำนานกรีกโบราณ เรื่องราวในมหากาพย์ อีเลียด ครอบคลุมช่วงเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ในช่วงปีที่สิบและปีสุดท้ายของสงครามเมืองทรอย มิได้เล่าถึงความเป็นมาของการศึกและเหตุการณ์ในช่วงต้น (คือเรื่องที่ปารีสลักพานางเฮเลนมาจากกษัตริย์เมนนิเลอัส) และมิได้เอ่ยถึงเหตุการณ์ตอนสิ้นสุดสงคราม (คือการตายของอคิลลีส และการล่มสลายของเมืองทรอย) อย่างไรก็ดีมีบทกวีมหากาพย์เรื่องอื่นที่บรรยายความต่อจากนี้ แต่หลงเหลือรอดมาถึงปัจจุบันเพียงเล็กน้อย มีเนื้อความกระจัดกระจายเป็นส่วน ๆ ไม่ต่อเนื่อง รายละเอียดของสงครามทั้งหมด โปรดดูจากบทความเรื่อง สงครามเมืองทรอย บทกวีเริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวกรีกได้จับตัวนางไครเซอีส บุตรีของไครสิสนักบวชประจำวิหารของอพอลโลมาแล้ว และมอบนางให้เป็นรางวัลแก่อะกาเมมนอนกษัตริย์แห่งไมซีนี และผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพกรีก เทพอพอลโลจึงบันดาลให้เกิดโรคระบาดในกองทัพกรีก เพื่อบีบบังคับให้อะกาเมมนอนคืนตัวนางไครเซอีสให้แก่บิดาของนาง อะกาเมมนอนจึงไปบังคับเอาตัวนางไบรเซอีสจากอคิลลีสมาแทน นางไบรเซอีสเป็นทาสชาวเอเคียนที่มอบให้เป็นรางวัลแก่อคิลลีส นักรบผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งยุค อคิลลีสรู้สึกน้อยใจจึงถอนตัวออกจากการรบ ฝ่ายเมืองทรอยนั้นมีเจ้าชายเฮกเตอร์ โอรสของท้าวเพรียม เป็นแม่ทัพนำศึกป้องกันเมืองและปกป้องครอบครัวของตน เมื่ออคิลลีสไม่ยอมร่วมรบด้วย เฮกเตอร์จึงสามารถมีชัยชนะเหนือกองทัพกรีก นักรบกรีกที่เหลืออยู่ รวมถึงโอดิซูสและดิโอมีดีส ต่างได้รับบาดเจ็บ ด้วยเวลานั้นปวงเทพต่างเข้าข้างฝ่ายเมืองทรอย ปโตรกลัสจึงปลอมตัวเป็นอคิลลีสโดยนำเสื้อเกราะของเขามาสวม และนำทัพชาวเมอร์มิดอนกลับเข้าร่วมรบเพื่อช่วยป้องกันเรือของพวกกรีกไม่ให้ถูกเผาทำลาย ปโตรกลัสถูกเฮกเตอร์สังหารสิ้นชีพ อคิลลีสจึงกลับเข้าร่วมรบเพื่อแก้แค้นให้ปโตรกลัส เขาสังหารเฮกเตอร์ได้สำเร็จด้วยการประลองตัวต่อตัว แล้วเอาร่างของเฮกเตอร์กลับไปค่ายด้วย ท้าวเพรียมลอบเข้าค่ายทัพกรีก (ด้วยความช่วยเหลือของเทพเฮอร์มีส) เพื่อไถ่ร่างของบุตรชายคืน อคิลลีสเกิดความสงสารจึงคืนให้ บทกวีจบลงที่การพิธีศพของเฮกเตอร์

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

เหอเซียนกู

ไฉ่สิ่งเอี้ย หรือ จ่ายสินเอี้ย (จีน: 财神; พินอิน: Cái-shén; อังกฤษ: Cai Shen, God of wealth, God of fortune) เป็นเทพเจ้าของจีนที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ตรุษจีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว โดยคำว่า “ไฉ่สิ่ง” หรือ “ไฉซิ้ง” มีความหมายว่า “ทรัพย์สิน” หรือ “สิริมงคล” “เอี้ย” หมายถึง “เทพเจ้า” โดยเทพที่ได้รับการนับถือว่าเป็นไฉ่ซิ้งเอี้ย มีด้วยกันหลายองค์ แต่องค์ที่ได้รับการบูชามากที่สุด คือ ฟ่านหลี และปี่ กั้น ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบุ๋น ขณะที่จ้าวกงหมิง และกวนอู ถือเป็นไฉ่สิ่งเอี้ยฝ่ายบู การบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น ไฉ่สิ่งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง คือ ในวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉ่สิ่งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉ่สิ่งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00–01.00 น. ของวันตรุษจีน โดยทำการบูชาที่ดาดฟ้าบ้านหรือหลังคาบ้าน หรือระเบียงบ้านชั้นสองหรือสาม หรือหน้าบ้านก็ได้ ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้, อาหารเจ, บัวลอย, สาคู หรือของรับประทานต่าง ๆ ที่มีสีสันสดใส แต่ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มาตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น และเมื่อธูปที่ใช้บูชาใกล้มอดให้รีบนำเข้าบ้าน และปิดประตูหน้าต่างให้สนิท เพื่อให้ควันธูปที่เหลือนั้นตลบอบอวลอยู่ภายในบ้าน เชื่อว่าเป็นการอัญเชิญไฉ่สิ่งเอี้ยเข้ามาประทับในบ้าน เทพเจ้าจีนแบ่งเป็นสองประเภท คือ เทพเจ้าและบุคคลศักดิ์สิทธิ์ที่มาจากพระพุทธศาสนาแบบจีนและทิเบตซึ่งรับมาจากชมพูทวีปและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นภาษาจีนและ เทพเจ้าบุคคลศักดิ์สิทธิ์ดั้งเดิมซึ่งมีที่มาจากศาสนาพื้นบ้านจีน ลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า.ตามคติศาสนาพุทธ เทพ (บาลี: ;สันสกฤต: देव เทว) หมายถึงชาวสวรรค์ ถ้าเป็นเพศชายเรียกว่าเทพบุตร เพศหญิงเรียกว่าเทพธิดา และเรียกโดยรวมว่าเทวดา ในบางกรณีอาจครอบคลุมถึงพระพรหมทั้งหลายในพรหมโลกด้วย

jumbo jili

นอกจากนั้นยังตามความเชื่อของคนไทย สถานที่ศักสิทธิ์ที่มีการบูชาและเคารพมักจะเป็นที่สถิตย์ของเทวดา หมายรวมไปถึง บรรดา ต้นไม้ที่อายุเก่าแก่ โบราณสถานและโบราณวัตถุต่าง ๆ ก็มักมีเทวดาสถิตย์อยู่ ยูฟรอซินี (อังกฤษ: Euphrosyne; กรีก: Εὐφροσύνη) เป็นเทพีองค์หนึ่งในสามองค์ในกลุ่มเทพีชาริทีสในตำนานเทพเจ้ากรีกที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า “Three Graces” (ไตรเทพี) เทพียูฟรอซินีเป็นธิดาของซูสและยูรีโนเม (Eurynome) และเป็นเทพีแห่งความสง่าและความงาม และความร่าเริง เทพียูฟรอซินีปรากฏเป็นหนึ่งในสามเทพีในรายละเอียดของภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” โดยซันโดร บอตตีเชลลีฤดูใบไม้ผลิ (อังกฤษ: Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี ค.ศ. 1551 จอร์โจ วาซารีกล่าวถึงภาพนี้ว่าเป็นการประกาศถึงการมาถึงของฤดูใบไม้ผลิ (อิตาลี: “Primavera”) ที่เป็นภาพที่อยู่ในคฤหาสน์เมดิชิในคาสเตลโลไม่ไกลจาก “คฤหาสน์เพตราเอีย” ลอเรนโซ ดิ ปิแอร์ฟรานเชสโค เดอ เมดิชิ (Lorenzo di Pierfrancesco de’ Medici) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของลอเรนโซ เดอ เมดิชิซื้อคฤหาสน์นี้ในปี ค.ศ. 1477 ซึ่งทำให้สรุปว่าภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่เขียนให้ปิแอร์ฟรานเชสโคเมื่อมีอายุ 14 ปีเมื่อซื้อคฤหาสน์ จากการสำรวจทรัพย์สินของปิแอร์ฟรานเชสโคและน้องชายจิโอวานนิ (Giovanni il Popolano) ในปี ค.ศ. 1499 กล่าวถึง ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ว่าตั้งแสดงอยู่ที่วังในเมืองฟลอเรนซ์ในห้องรอที่ติดกับห้องของปิแอร์ฟรานเชสโค

สล็อต

ภาพเขียนขนาดใหญ่เช่นนี้เป็นเรื่องปกติสำหรับครอบครัวที่มีฐานะมั่งคั่ง แต่ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงการเขียนรูปสัญลักษณ์คลาสสิกและการวางรูปแบบของงานเขียนแบบเรอเนซองส์ ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพของเทพีวีนัสขนาดเท่าตัวคนยืนกึ่งเปลือยอยู่กลางภาพ ภาพนี้เป็นภาพที่ผู้ชมจะเข้าใจความหมายของภาพได้ก็ด้วยการมีความรู้อันลึกซึ้งในวรรณกรรมของยุคเรอเนซองส์และความสามารถในการประสานทัศน์ต่างๆ เข้าด้วยกัน (syncretism) ขณะที่ตัวแบบบางตัวในภาพมาจากแรงบันดาลใจจากประติมากรรมโบราณแต่มิใช่เป็นงานก็อปปีงานโดยตรงแต่เป็นการเขียนแบบตีความหมายตามความคิดของบอตติเชลลี ที่ตัวแบบมีลักษณะเพรียว, รูปทรงที่เป็นแบบอุดมคติอันสูงส่ง และ มีลักษณะการวางท่าแบบราชสำนักของคริสต์ศตวรรษที่ 16 แบบแมนเนอริสม์ วีนัสยืนอยู่กลางภาพห่างจากตัวแบบอื่นๆ โดยมีคิวปิดเล็งศรแห่งความรักไปยังเทพีชาริทีส (Charites) หรือ “ไตรเทพี” ผู้ที่กำลังเต้นรำอยู่เป็นกลุ่มอยู่ทางด้านซ้ายของภาพ เทพีองค์ไกลไปทางขวาเป็นใบหน้าของคาเทอรินา สฟอร์ซา (Caterina Sforza) ที่บอตติเชลลีเขียนเป็นภาพเหมือนต่างหากในภาพ “แคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” สวนของวีนัสผู้เป็นเทพีแห่งความรักได้รับการอารักขาโดยเทพเมอร์คิวรีผู้กำลังเอื้อมมืออกไปแตะผลไม้ เมอร์คิวรีแต่งตัวด้วยเสื้อสีแดงอย่างหลวมๆ สวมหมวกเหล็กและห้อยดาบที่เป็นการแสดงว่าเป็นผู้อารักขาสวน การเป็นผู้สื่อข่าวจากพระเจ้าก็บอกได้จากรองเท้าที่มีปีกและคทางูเดี่ยวที่เมอร์คิวรีใช้ในการแยกงูสองตัวและรักษาความสงบ บอตติเชลลีเขียนภาพงูเป็นมังกรมีปีก จากทางด้านขวาเซไฟรัสเทพเจ้าแห่งลมพยายามออกมาไล่นิมฟ์คลอริส ทางซ้ายของคลอริสคือเทพีฟลอราเทพีแห่งฤดูใบไม้ผลิผู้กำลังโปรยดอกไม้ที่อาจจะเป็นภาพของซิโมเนตตา เวสพุชชิ (Simonetta Vespucci) รายละเอียดของไตรเทพีหลังจากที่ภาพได้รับการทำความสะอาดแล้ว ทางด้านขวาเป็นภาพของคาเทอรินา สฟอร์ซา ภาพนี้ได้รับการตีความหมายกันไปต่างๆ ที่รวมทั้งความหมายทางการเมืองว่าความรักคือโรม, ไตรเทพี (three Graces) คือปิซา เนเปิลส์ และ เจนัว, เมอร์คิวรีคือมิลาน, ฟลอราคือฟลอเรนซ์, เมย์คือมานตัว, คลอริสและเซพไฟร์คือเวนิสและโบลซาโน (หรืออเร็ซโซและฟอร์ลิ) นอกจากความหมายต่างๆ ที่ว่าแล้วภาพนี้ก็ยังแสดงถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง เป็นภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมร่วมสมัยและเป็นการแสดงออกของเนื้อหาของวรรณกรรมคลาสสิก แหล่งข้อมูลหนึ่งของฉากที่เขียนอาจจะมาจากกวีนิพนธ์ “Fasti” โดยโอวิด ที่เป็นโคลงที่บรรยายปฏิทินเทศกาลของโรมันโบราณ สำหรับเดือนพฤษภาคมฟลอราเล่าว่าครั้งหนึ่งเคยเป็นนิมฟ์คลอริสและหายใจออกมาเป็นดอกไม้ พระพายเซพไฟร์หลงใหลในความงามของคลอริสก็ติดตามและเอาเป็นภรรยา และประทานสวนที่งดงามที่เป็นสวนแห่งฤดูใบไม้ผลิตลอดกาลให้ บอตติเชลลีเขียนภาพนี้เป็นสองฉากจากคำบรรยายของโอวิด ฉากแรกเป็นพระพายเซพไฟร์ไล่ตามคลอริสและการแปลงของคลอริสเป็นฟลอรา ที่ทำให้เสื้อผ้าของเทพีทั้งสองค์ที่ดูเหมือนจะไม่เห็นกันถูกโบกไปคนละทาง ฟลอรายืนอยู่ข้างวีนัสโปรยกลีบกุหลาบที่เป็นดอกไม้ของเทพีแห่งความรัก นักเขียนคลาสสิกลูเครเชียสบรรยายไว้ในโคลงคำสอนปรัชญา “De Rerum Natura” ที่สรรเสริญเทพีทั้งสององค์ในฉากฤดูใบไม้ผลิฉากเดียว โคลงนี้บรรยายถึงวีนัส, คิวปิด, เซพไฟร์, ฟลอรา ซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในภาพที่บอตติเชลลีวาด ซึ่งทำให้สันนิษฐานกันว่าโคลงนี้เป็นแหล่งข้อมูลหลักของภาพ

สล็อตออนไลน์

เอิร์นสต์ กอมบริค (Ernst Gombrich) ค้านความสัมพันธ์ระหว่างโคลงของลูเครเชียสกับภาพนี้ว่าเป็นงานของลูเครเชียสเป็นงานที่หนักไปทางปรัชญาที่ไม่น่าจะดึงดูดจิตรกรให้ใช้เป็นแหล่งข้อมูล และสนับสนุนว่า “The Golden Ass” โดยอพูเลียส (Apuleius) ว่าน่าจะเป็นแหล่งข้อมูลของภาพมากกว่า ที่เป็นโคลงที่บรรยายภาพเขียนที่หายไปอย่างละเอียด และเป็นงานนี้ก็เป็นที่นิยมใช้เป็นแรงบันดาลใจในบรรดาศิลปินยุคเรอเนซองส์กันมาก โคลงของอพูเลียสเป็นสัญลักษณ์ของทางเลือกของวีนัสในฐานะเทพีผู้มีความงามที่สุด ทางเลือกที่นำไปสู่สงครามเมืองทรอยที่บรรยายโดย โฮเมอร์ ใน “อีเลียด” สำหรับมาร์ซิลิโอ ฟิชีโนครูของโลเรนโซแล้ววีนัสเป็นสัญลักษณ์ของ “Humanitas” ฉะนั้นภาพเขียนจึงเป็นการเชิญชวนให้เลือกคุณค่าของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ แต่แคทธริน ลินด์สคูกยังเชื่อว่า “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพของสวนอีเดน จาก “ไตรภูมิดานเต” โดยดานเต จากการตีความหมายนี้บุคคลในภาพจากซ้ายไปขวาก็จะเป็น อาดัม, คุณธรรมสามประการ, เบียทริซ พอร์ตินาริ, มาทิลดา, อีฟ และ ซาตาน เลออโคออน (อังกฤษ: Laocoön กรีก: Λαοκόων) เป็นลูกของอะโคทีส (Acoetes) เป็นนักบวชโทรจันของโพไซดอนในตำนานเทพเจ้ากรีก (หรือเทพเนปจูน) แต่เลออโคออนไปละเมิดกฎอาจจะด้วยการแต่งงานและมีลูก หรืออาจจะโดยการปฏิบัติตัวในทางที่ไม่เหมาะสมโดยการไปสมสู่กับภรรยาต่อหน้ารูปเคารพในวัด บทบาทของเลออโคออนในตำนานสงครามเมืองทรอยคือไปพยายามเตือนฝ่ายทรอยไม่ให้รับม้าโทรจันจากฝ่ายกรีก ซึ่งทำความพิโรธให้แก่เทพเจ้าผู้ส่งงูทะเลสองตัวจากเกาะเทเนดอสมาเข่นฆ่า ม้าโทรจัน หรือ ม้าไม้เมืองทรอย (อังกฤษ: Trojan horse) เป็นม้าขนาดใหญ่ที่ทำจากไม้ จากมหากาพย์อีเลียดเรื่องสงครามเมืองทรอย ม้าไม้นี้เกิดขึ้นจากอุบายของโอดิสเซียส ในการบุกเข้าเมืองทรอย ที่มีป้อมปราการแข็งแรง หลังจากที่รบยืดเยื้อมานานถึง 10 ปีแล้ว ด้วยการให้ทหารสร้างม้าไม้นี้ขึ้นมา แล้วลากไปวางไว้หน้ากำแพงเมืองทรอย แล้วให้ทหารกรีกแสร้งทำเป็นล่าถอยออกไป เมื่อชาวทรอยเห็นแล้วเข้าใจว่าเป็นบรรณาการที่ทางฝ่ายกรีกสร้างขึ้นมาเพื่อบูชาเทพเจ้าและล่าถอยไปแล้ว จึงลากเข้าไปไว้ในเมืองและฉลองชัยชนะ เมื่อตกดึก ทหารกรีกที่ซ่อนตัวอยู่ในม้าไม้ ก็ไต่ลงมาเผาเมืองและปล้นเมืองทรอยได้เป็นที่สำเร็จ ปัจจุบัน ม้าโทรจัน ได้กลายมาเป็นสำนวนในภาษาอังกฤษ และเป็นชื่อของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เมืองชานักกาเล ประเทศตุรกี ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของเมืองทรอยจริงตามประวัติศาสตร์ ทางผู้สร้างภาพยนตร์เรื่อง Troy เมื่อปี ค.ศ. 2004 ก็ได้มอบม้าไม้ตัวที่ใช้ในเรื่องให้แก่เมือง ซึ่งกลายเป็นจุดสนใจและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของเมืองด้วย[โอดิสเซียส หรือ โอดิสซูส (กรีก: Ὀδυσσεὺς, โอ-ดุส-เซวส์ [odysse͜ús]) นอกจากนี้ยังรู้จักกันในชื่อภาษาละตินว่า ยูลิสซิส (ละติน: Ulysses) เป็นตัวเอกในมหากาพย์เร่องโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ และยังมีบทบาทสำคัญในการสู้รบที่กรุงทรอย ซึ่งถ่ายทอดผ่านมหากาพย์อีเลียดของกวีคนเดียวกันอีกด้วย

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

หลี่เถียไกว่

เทพเจ้าโชคลาภทั้งเจ็ด (ญี่ปุ่น: 七福神 โรมาจิ: Shichi Fukujin ทับศัพท์: ชิจิฟุกุยิน) คือเหล่าเทพเจ้าแห่งโชคลาภซึ่งเป็นที่นับถือกันมากในประเทศญี่ปุ่น ตามเทพนิยายและเรื่องเล่าต่อๆกันมา เทพทั้งเจ็ด มักสื่อออกมาในรูปเครื่องรางต่างๆทีจำหน่ายตามศาลเจ้า หรือ ของรูปแบบอื่นๆ ซึ่งเทพเจ้า มักเดินทางจากสวรรค์มาโดยเรือ ซึ่งได้ชื่อว่า “เรือมหาสมบัติ” เอบิสึ เทพแห่งชาวประมงและการค้าขาย มักพบเห็นท่านถือปลาและเบ็ดตกปลาเสมอ เอบิซุเป็นเทพเจ้าองค์เดียวในหมู่เทพทั้งเจ็ด ที่มีต้นกำเนิดมาจากญี่ปุ่นเองแท้ๆ ไม่ได้เป็นเทพที่ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อต่างชาติ เดิมเทพองค์นี้มีชื่อว่า ฮิรุโกะ ซึ่งแปลว่า บุตรแห่งสายน้ำ ตามร้านอาหารทะเลก็มักนำรูปปั้นเอบิซุมาประดับด้วย ไดโกกุ เทพแห่งความมั่งคั่ง การเพาะปลูก และเทพคุ้มครองข้าวของเครื่องใช้ในบ้าน โดยเฉพาะในห้องครัว เป็นเทพที่มีต้นกำเนิดตามความเชื่อของลัทธิเต๋า (หรือตามตำนานอินเดียคือ พระศิวะ) มักเห็นท่านถือค้อนเงินและถือถุงข้าวสาร พร้อมใบหน้าอันยิ้มแย้มแจ่มใส ในบางครั้งจะพบหนูตัวเล็กๆอยู่ข้างๆท่านด้วย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ ตามร้านขายของมักนำท่านมาประดับเพื่อเป็นสิริมงคล

jumbo jili

บิชามอน: เทพแห่งอัศวินและเหล่านักรบ ตามตำนานของญี่ปุ่นท่านเป็น 1 ใน อสูรปกครองศักดิ์สิทธิทั้ง 4 หรือ เต่าดำแห่งทิศเหนือ ของจีน นั่นเอง หรือถ้าตามตำนานอินเดียท่านเป็นหนึ่งในจตุโลกบาล หรือเทพผู้คุ้มครองทิศทั้งสี่ โดยความเชื่อฝ่ายพุทธหรือพราหมณ์ รู้จักท่านในนามของ ท้าวกุเวร หรือ “ท้าวเวสสุวรรณ” (ชื่อสำเนียงญี่ปุ่นก็ยังมีความใกล้เคียงกับคำว่า เวสสุวรรณ) เทพดาประจำทิศเหนือ นั่นเอง ท่านมีชื่ออื่นตามตำนานอื่นๆในเอเชียด้วย ชื่อต่างๆ ซึ่งล้วนแต่แปลว่า ผู้ฟังมาก (เชื่อกันว่าท่านเป็นเทพที่คอยปกป้องพระพุทธเจ้าขณะที่พระองค์แสดงพระธรรมเทศนา) ตามตำนานญี่ปุ่น บิชามอนเท็น เป็นเทพแห่งสงครามผู้ขับไล่ปีศาจต่างๆที่เป็นอัปมงคล และรวมถึงปกป้องทรัพย์สินในบ้านจากภัยอันตรายต่างๆ โดยมือข้างหนึ่งจะถือหอกเป็นอาวุธ ส่วนอีกข้างหนึ่งถือเจดีย์อันเล็กๆ เบ็นไซเท็น: เทพเจ้าองค์เดียวที่เป็นผู้หญิง เป็นเทพแห่งศิลปะและความงาม มีต้นกำเนิดมาจากประเทศอินเดีย คือองค์เดียวกับ พระสุรัสวดี มักพบท่านในลักษณะของนางฟ้าที่กำลังเล่นเครื่องดนตรีเครื่องสายของญี่ปุ่น (ในตำนานฮินดู พระสุรัสวดีเป็นชายาของพระพรหม และมักทรงพิณในพระหัตถ์เสมอ) ฟุกุโรกุยู: เทพแห่งความสุข ความมั่งคัง และอายุยืน เป็นเทพอาวุโสมีเครายาว หน้าผากสูง มีสมุดที่บันทึกอายุขัยของมนุษย์บนโลก มักพบท่านพร้อมกับ นกกระเรียน เต่า รวมถึงกวางดำ ซึ่งมีความเชื่อว่ากวางที่อายุ 2000 ปี จะเปลี่ยนสีเป็นสีดำ ซึ่งล้วนเป็นสัญลักษณ์แห่งอายุที่ยืนนานทั้งสิ้น เทพองค์นี้ของญี่ปุ่น อันที่จริงต้องถือว่าเป็นการควบรวมเทพของจีนโบราณสามองค์เข้าด้วยกัน คือ ฮก ลก ซิ่ว หรือ ฝู ลู่ โซ่ว ในสำเนียงจีนกลาง (ชื่อ ฟุกุ โรกุ ยุ ก็คือคำจีนว่า ฮก ลก ซิ่ว นั่นเอง และความหมายก็ตรงกัน) แต่รูปลักษณ์ภายนอกของท่าน ใกล้เคียงกับเทพซิ่วหรือเทพอายุวัฒนะของจีนมากที่สุด

สล็อต

โฮเท: เทพเจ้าที่ร่างอ้วนท้วมสมบูรณ์ เป็นเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์และสุขภาพ รูปลักษณ์ของท่านเหมือน พระสังกัจจายน์ด้วย หรือที่รู้จักกันตามตำนานอื่นๆ บางครั้งกล่าวว่า ท่านก็คือองค์เดียวกับ พระศรีอริยเมตไตรย หรือ พระพุทธเจ้าองค์ต่อไปด้วย นอกจากนั้นท่านยังมีรูปลักษณ์ที่เป็นมิตรและร่าเริง จึงเป็นที่รู้จักกันอีกนามหนึ่งคือ พระหัวเราะ รูปปั้นของท่านถูกตั้งตามร้านอาหาร โรงแรม และเป็นเครื่องรางแพร่หลายไปทั่วเอเชีย จูโรยิน: เทพแห่งอายุยืน มักถูกจำสับสนกับ ฟุกุโรกุยู ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกันมาก โดยเป็นเทพอาวุโสถือไม้เท้าและพัด พร้อมด้วยกวางดำเดินตามข้างหลังศาลเจ้า ชาวคาทอลิกเรียกว่าสักการสถาน ตรงภาษาอังกฤษว่า “Shrine” มาจากภาษาละติน “Scrinium” ที่แปลว่า “หีบสำหรับหนังสือหรือเอกสาร” และภาษาฝรั่งเศสเก่า “escrin” ที่แปลว่า “กล่องหรือหีบ” คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อุทิศให้แก่บุคคลสำคัญทางศาสนา บรรพบุรุษ วีรบุรุษ มรณสักขี นักบุญ เทพเจ้าหรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือเป็นที่นับถือผู้เป็นที่สักการะ ในศาลมักจะประกอบด้วยรูปเคารพ วัตถุมงคล หรือสิ่งของต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เป็นที่สักการะ ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อรับสิ่งสักการะเรียกว่า “แท่นบูชา” ศาลเจ้าเป็นสิ่งที่พบในศาสนาแทบทุกศาสนาในโลกที่รวมทั้งศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ศาสนาพื้นบ้านจีน และศาสนาชินโต และการใช้ในทางที่ไม่เกี่ยวกับศาสนาเช่นรำลึกสถานเกี่ยวกับสงคราม ศาลเจ้ามีลักษณะต่างกันไปหลายอย่าง ปูชนียสถานบางแห่งก็ตั้งอยู่ภายในโบสถ์ วัด สุสาน หรือแม้แต่ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย หรือบางครั้งก็จะเป็นแบบที่เคลื่อนย้ายได้ เช่นในลักษณะของ “หีบวัตถุมงคล” ศาลเจ้าบางครั้งก็อาจจะกลายมาเป็นศูนย์กลางที่ประดิษฐานเทวรูปต่าง ๆ

สล็อตออนไลน์

จักรวรรดิออตโตมันได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยสุลต่านสุไลมาน ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1520) – พ.ศ. 2109 (ค.ศ. 1566) ในรัชสมัยของพระองค์ถือเป็นยุคทองของจักรวรรดิ อาณาเขตได้แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล ทิศตะวันตกจรดดินแดนออสเตรีย ทิศตะวันออกจรดคาบสมุทรอาเรเบีย ทิศเหนือจรดคาบสมุทรไครเมีย ทิศใต้จรดซูดานในแอฟริกาเหนือ ชาวตะวันตกได้ขนานพระนามของพระองค์ว่า “สุไลมาน ผู้ยิ่งใหญ่” สำหรับชาวตุรกีพระองค์ได้รับสมัญญานามว่า “สุไลมาน ผู้พระราชทานกฎหมาย” เนื่องจากพระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญในการปฏิรูประบบกฎหมาย สุลต่านสุไลมานสิ้นพระชนม์ในระหว่างทำสงครามที่ฮังการีในปี พ.ศ. 2109 (ค.ศ. 1566) สิริรวมพระชนมายุได้ 74 พรรษา ทรงครองราชย์ยาวนานถึง 46 ปี อดีตอันยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิออตดตมันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยสุลต่านสุไลมานเป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีภาคภูมิใจเป็นอย่างมากเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาติตน สิ้นรัชกาลสุลต่านสุไลมาน จักรวรรดิออตโตมันเข้าสู่ยุคเสื่อม ซึ่งกินระยะเวลายาวนานถึง 300 ปี ก่อนที่จะล่มสลายลงอย่างสิ้นเชิงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สาเหตุที่นำไปสู่ความเสื่อมอำนาจของจักรวรรดิมาจากปัจจัยหลายประการ ที่สำคัญได้แก่ การไร้ความสามารถของสุลต่าน 17 พระองค์ที่ทรงครองราชย์ต่อจากสุลต่านสุไลมานในระหว่างปี พ.ศ. 2099 (ค.ศ. 1566) – พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) การแย่งชิงอำนาจในราชสำนักก็เป็นปัจจัยอันหนึ่งที่นำไปสู่การเสื่อมถอยของจักรวรรดิออตโตมัน สมัยสุลต่านเบยาซิต ที่ 1 (ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 1932 – 1946) โปรดให้จัดการปลงพระชนม์พระอนุชาของพระองค์เอง ทันทีที่ทรงทราบข่าวการสิ้นพระชนม์ของพระบิดา เพื่อตัดปัญหาการแย่งชิงราชสมบัติ การกระทำดังกล่าวได้กลายเป็นประเพณีปฏิบัติสืบมาจนถึงรัชสมัยของสุลต่านเมห์เมดที่ 1 ซึ่งขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2148 (ค.ศ. 1605) โปรดให้เปลี่ยนการสำเร็จโทษมาเป็นการกักบริเวณแทน การกักบริเวณดังกล่าวมีผลอย่างมากต่อสุขภาพจิตเจ้าชายรัชทายาท ซึ่งได้รับการทูลเชิญให้ขึ้นครองราชย์ในภายหลัง สุลต่านหลายพระองค์ทรงมีสุขภาพจิตที่ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากถูกกักบริเวณมาเป็นเวลานาน บางพระองค์ถูกกักบริเวณนานกว่า 20 ปี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา พระราชอำนาจของสุลตานได้ลดลงเป็นอย่างมาก ในขณะที่อำนาจของขุนนางภายใต้การนำของอัครมหาเสนาบดีมีมากขึ้น ในยุคนี้การฉ้อราษฎร์บังหลวง การเล่นพรรคเล่นพวกเกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศอ่อนแอ ในทางเศรษฐกิจ จักรวรรดิก็ประสบปัญหาอย่างมากเช่นกัน ในขณะที่ยุโรปประสบความสำเร็จในการปฏิวัติอุตสาหกรรม มีความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว จักรวรรดิออตโตมันกลับอ่อนแอลงตามลำดับ อย่างไรก็ดี จักรวรรดิก็สามารถประคับประคองตนเองให้อยู่รอดมาได้นานนับร้อยปี เนื่องจากชาติมหาอำนาจในยุโรปไม่ทราบถึงความอ่อนแอภายในจักรวรรดิออตโตมัน

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

ลฺหวี่ ต้งปิน

คิชโชเต็ง เป็นพระโพธิสัตว์แห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์ในคติพระพุทธศาสนามหายาน, วัชรยาน, พุทธแบบจีน, พุทธแบบญี่ปุ่นและเป็นหนึ่งหนึ่งในคณะเทพธรรมบาลของพุทธศาสนาแบบจีน เป็นเทพองค์เดียวกับพระลักษมีในในศาสนาฮินดู[กิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา รอการตรวจสอ ศาสนาพุทธได้เข้ามาในประเทศจีน ดังที่ปรากฏในหลักฐาน เมื่อประมาณ พ.ศ. 608 ในรัชสมัยจักรพรรดิฮั่นหมิง พระองค์ได้จัดส่งคณะทูต 18 คน ไปสืบพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย คณะทูตชุดนี้ได้เดินทางกลับประเทศจีนพร้อมด้วยพระภิกษุ 2 รูป คือ พระกาศยปมาตังคะและพระธรรมรัตนะ รวมทั้งคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาอีกส่วนหนึ่งด้วย เมื่อพระเถระ 2 รูป พร้อมด้วยคณะทูตมาถึงลั่วหยาง จักรพรรดิฮั่นหมิงได้ทรงสั่งให้สร้างวัดเพื่อเป็นที่อยู่ของพระทั้ง 2 รูป นั้นซึ่งมีชื่อว่า วัดแป๊ะเบ๊ยี่ แปลเป็นไทยว่า วัดม้าขาว เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ม้าตัวที่บรรทุกพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากับพระเถระทั้งสอง หลังจากนั้นพระกาศปมาตังตะกับพระธรรมรัตนะได้แปลคัมภีร์พระพุทธศาสนาเป็นภาษาจีนเล่มแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น แม้ว่าพระพุทธศาสนาจะเป็นที่เลื่อมใสแต่ก็ยังจำกัดอยู่ในวงแคบคือ ในหมู่ข้าราชการและชนชั้นสูงแห่งราชสำนักเป็นส่วนใหญ่ ยังไม่แพร่หลายในหมู่ประชาชนชาวเมือง เพราะชาวจีนส่วนใหญ่ยังคงนับถือลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า จนกระทั่งโม่งจื๊อ นักปราชญ์ผู้มีความสามารถยิ่งได้แสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนาให้ชาวเมืองได้เห็นถึงความจริงแท้อันลึกซึ้งของพระพุทธศาสนาเหนือกว่าลัทธิเดิม กับอาศัยความประพฤติอันบริสุทธิ์ของพระสงฆ์เป็นเครื่องจูงใจให้ชาวจีนเกิดศรัทธาเลื่อมใส จนทำให้ชาวเมืองหันมานับถือพระพุทธศาสนามากกว่าลัทธิศาสนาอื่นๆ พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ่งเรืองมาเป็นลำดับ

jumbo jili

ยุคราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) พระพุทธศาสนาก็เจริญสูงสุด เพราะได้รับการสนับสนุนจากพระเจ้าจักรพรรดิตลอดจนนักปราชญ์ราชบัณฑิตต่างๆโดยมีการสร้างวัดขึ้นหลายแห่ง และมีการแปลพระสูตรจากภาษาบาลีเป็นภาษาจีนมากมายพระพุทธศาสนาเริ่มเสื่อมลงเมื่อจักรพรรดิถังอู่จงขึ้นปกครองประเทศ เพราะพระองค์ทรงเลื่อมใสในลัทธิเต๋า พระองค์ได้ทำลายพระพุทธศาสนา เช่น ให้ภิกษุภิกษุณีลาสิกขาบท ยึดวัด ทำลายพระพุทธรูป เผาคัมภีร์ เป็นต้น พระพุทธศาสนาไม่ได้รับการอุปถัมภ์จากราชสำนัก ก็เริ่มเสื่อมลงตั้งแต่บัดนั้น ยุคสาธารณรัฐจีน ใน พ.ศ. 2455 ประเทศจีนได้เปลี่ยน ชื่อ ประเทศเป็นสาธารณรัฐจีน รัฐบาลไม่ได้สนับสนุนในพระพุทธศาสนา แต่สนับสนุนแนวความคิดของลัทธิมากซ์ ซึ่งลัทธิดังกล่าว ได้โจมตีพระพุทธศาสนาตลอดมา และมีการกระทำที่เป็นปฏิปักษ์ต่อพระพุทธศาสนามากขึ้นโดยเอาวัดไปใช้เป็นสถานที่ราชการอื่นๆ สถานการณ์ของพระพุทธศาสนาจึงยังไม่ดีขึ้น ใน พ.ศ. 2465 พระภิกษุชาวจีนรูปหนึ่งชื่อว่าพระอาจารย์ไท่ซวี ได้ช่วยกู้ฐานะของพระพุทธศาสนาไว้บางส่วนคือ ท่านได้ทำการปฏิรูปพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง แม้จะมีกำลังน้อย เริ่มด้วยการตั้งวิทยาลัยสงฆ์ขึ้นที่ วูซัน เอ้หมิง เสฉวน และ หลิ่งนาน เพื่อฝึกผู้นำทางพระพุทธศาสนาให้มีความรู้ทางพระธรรมวินัยและวิชาการทางโลกสมัยใหม่ และนำมาเผยแผ่เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม จนผู้คนเลื่อมใสมากขึ้น จึงตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีนขึ้น ใน พ.ศ. 2472 ความพยายามของพระอาจารย์ไท่ซวี ทำให้ประชาชนและรัฐบาลจีนเข้าใจในพระพุทธศาสนาดีขึ้น ทางราชการได้ออกคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์สินของวัดห้ามนำไปใช้ในกิจการอื่น

สล็อต

ใน พ.ศ. 2473 สาธารณรัฐจีนมีพระภิกษุและภิกษุณีรวม 738,000 รูป มีวัดทั้งสิ้น 267,000 วัด ซึ่งนับว่าพระพุทธศาสนาเจริญในประเทศจีนพอสมควร ยุคสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน พ.ศ. 2492 สาธารณรัฐจีนได้เปลี่ยนชื่อประเทศอีกครั้งหนึ่ง เป็นสาธารณรัฐประชาชนจีน ปกครองด้วยลัทธิคอมมิวนิสต์ ลัทธิคอมมิวนิสต์นี้มีคำสอนที่ขัดแย้งกับพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก พระพุทธศาสนาจึงไม่อาจอยู่ได้ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ในระยะแรกพรรคคอมมิวนิสต์เห็นว่าพระพุทธศาสนายังมีอิทธิพลอยู่ในจิตใจของประชาชนจึงไม่ใช้ความรุนแรง ใน พ.ศ. 2494 รัฐบาลได้ออกกฎหมาย เพิกถอนสิทธิวัดในการยึดครองที่ดิน ซึ่งเป็นการบีบให้พระสงฆ์ต้องลาสิกขาบทโดยทางอ้อม พระภิกษุที่ยังไม่ลาสิกขาก็ต้องไปประกอบอาชีพเอง เช่น ทำไร่ ทำนา เป็นต้น ทั้งที่ยังครองเพศเป็นภิกษุอยู่ และในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรมครั้งใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน พ.ศ. 2509-2512 ได้มีเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนต่อพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมากคือ รัฐบาลได้ยึดวัดเป็นของราชการ ห้ามประกอบศาสนกิจต่างๆ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาถือเป็นความผิดกฎหมาย พระภิกษุถูกบังคับให้ลาสิกขา พระคัมภีร์ต่างๆ ถูกเผา พระพุทธรูปและวัดถูกทำลายไปเป็นอันมาก จากเหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธศาสนา เกือบสูญสิ้นไปจากประเทศจีนเลยทีเดียว เมื่อประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน เหมา เจ๋อตง ได้ถึงแก่อสัญกรรม ใน พ.ศ. 2519 รัฐบาลชุดใหม่ของจีนก็คลายความเข้มงวดลงบ้างและให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาของประชาชนมากขึ้น พุทธศาสนาในปัจจุบัน ในปัจจุบันได้มีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานขึ้นใหม่ ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้รัฐบาลจีนยังให้การสนับสนุนจัดตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีน และสภาการศึกษาพระพุทธศาสนาแห่งประเทศจีนขึ้นในกรุงปักกิ่งอีกด้วย เพื่อเป็นศูนย์กลางการติดต่อเผยแผ่พระพุทธศาสนากับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปัจจุบันนี้ชาวจีนส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาคู่ไปกับลัทธิขงจื๊อ ห้าทหารเสือแห่งจ๊กก๊ก และลัทธิเต๋า ซึ่งปัจจุบันมีผู้นับถือถึง 30 ศาสนาเถรวาทในจีน ในประเทศจีน มีผู้นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาทเฉพาะในมณฑลยูนนาน ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชนกลุ่มน้อยชาวไทลื้อและชาวไทใหญ่ พุทธศาสนาในสิบสองปันนา พุทธศาสนาในสิบสองปันนาเป็นพุทธศาสนาเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรล้านนาหรือเชียงใหม่ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 นิกายเช่นเดียวกับพุทธศาสนาในเชียงใหม่คือ

สล็อตออนไลน์

สำนักวัดสวนดอกหรือฝ่ายสวน ตั้งที่เชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. 1914 แต่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อใดไม่มีหลักฐาน สำนักวัดป่าแดงหรือฝ่ายป่า ตั้งขึ้นที่เชียงใหม่เมื่อราว พ.ศ. 1973 โดยคณะสงฆ์ที่ไปบวชเรียนมาใหม่จากประเทศศรีลังกา ถือวินัยเคร่งครัดกว่าฝ่ายสวน เผยแพร่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อ พ.ศ. 1989 โดยผ่านทางเชียงตุง
พุทธศาสนาในเขตปกครองตนเองไทใต้คง พุทธศาสนาแพร่เข้าสู่เขตปกครองตนเองไทใต้คงเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 19-20 แบ่งออกเป็น 4 นิกายคือ นิกายปายจอง เป็นนิกายที่แพร่เข้ามาก่อนนิกายอื่น ไม่เคร่งวินัย ภิกษุเลี้ยงสัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ ได้ นิกายกึงโยน เป็นนิกายที่แพร่เข้าสู่เมืองขอนเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 ได้รับอิทธิพลจากเชียงใหม่ มีการแบ่งย่อยเป็นโยนสวนกับโยนป่าเหมือนในเมืองเชียงใหม่ เขียนคัมภีร์ด้วยอักษรล้านนา นิกายโตเล เป็นนิกายที่ได้รับอิทธิพลจากพม่าเข้าสู่เมืองมาวเมื่อ พ.ศ. 2294 ถือวินัยเคร่งครัดกว่านิกายอื่น มีการบวชสามเณรีและภิกษุณี นิกายชุติหรือโจติเป็นนิกายที่เกิดขึ้นในใต้คงโดยภิกษุชาวไทใหญ่เห็นว่าพระสงฆ์เดิมถือวินัยหย่อนยาน แพร่เข้าสู่เมืองแจ้ฝางและเมืองมาวเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 เคยแพร่หลายที่เมืองขอนระยะหนึ่งเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 25 แต่ภายหลังพ่ายแพ้นิกายปายจอง คณะสงฆ์นิกายนี้ในเมืองขอนจึงถอนตัวจากเมืองขอนเข้าสู่พม่าไปตั้งศูนย์กลางที่เมืองมีดและเมืองยางในรัฐฉานตามลำดับ ภิกษุในนิกายนี้มีวัตรปฏิบัติต่างจาก 3 นิกายข้างต้น ทั้งภิกษุและฆราวาสต่างเคร่งครัดวินัย เมื่อ พ.ศ. 2532 สำรวจพบว่าชาวพุทธในไต้คง เป็นชาวไทใหญ่ 90% ชาวปะหล่องและชาวอาชาง 10% ในจำนวนนี้นับถือนิกายปายจอง 52% นิกายโตเล 33% นิกายกึงโยน 12% และนิกายชุติ

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

โป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน)

กวนอิม ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ กวนอิน ตามสำเนียงกลาง (จีนตัวย่อ: 观音; จีนตัวเต็ม: 觀音; พินอิน: Guān Yīn) เป็นพระโพธิสัตว์ในตามคติมหายาน เป็นองค์เดียวกันกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ในภาษาสันสกฤต ซึ่งมีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานในประเทศอินเดีย และได้ผสมผสานกับตำนานเรื่องเจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน ของศาสนาพื้นบ้านจีนจนก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตร ซึ่งเป็นการผสมผสานกลมกลืนทางความเชื่อที่ปราศจากข้อขัดแย้ง เนื่องจากในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรได้อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรนั้นสามารถแบ่งภาคเพื่อโปรดสรรพสัตว์ได้มากมายทั้งปางบุรุษและสตรี และเป็นธรรมดาของพระโพธิสัตว์มหายานที่เมื่อเข้าไปสู่ดินแดนอื่นทั้งทิเบต จีน หรือญี่ปุ่น ย่อมผสมผสานกลมกลืนได้กับเทพท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างในกรณีพระอวโลกิเตศวรนี้ Sir Charles Eliot ได้ตั้งข้อสังเกตว่า “คงเนื่องมาจากความสับสนทางความคิดของชาวจีนในยุคนั้น ซึ่งบูชาเทพเจ้าต่าง ๆ ของตนอยู่แล้ว และเมี่ยวซ่านก็เป็นเทพวีรชนดั้งเดิมอยู่ก่อน เมื่อคติพระโพธิสัตว์จากอินเดียแผ่เข้าไปถึง ได้เกิดการผสานทางวัฒนธรรมเปลี่ยนชื่อเสียง คงไว้เพียงแต่คุณลักษณะต่าง ๆ พอให้แยกออกว่าเป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์”พระโพธิสัตว์กวนอิม (ประสูติ 19 เดือนยี่จีน) เดิมเป็นเทพธิดาซึ่งต้องการช่วยปลดเปลื้องทุกข์ภัยแก่มวลมนุษย์ ในชาติสุดท้ายจึงจุติลงมายังโลกมนุษย์นาม เจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน เป็นพระราชธิดาองค์เล็กของกษัตริย์แห่งอาณาจักรซิงหลิง พระนามว่า พระเจ้าเมี่ยวจวง กับพระนางเซี่ยวหลิน (พระนางเป๋าเต๋อ) มีพระพี่นาง 2 พระองค์ คือ เจ้าหญิงเมี่ยวอิม และเจ้าหญิงเมี่ยวหยวน

jumbo jili

ในเยาว์วัย เจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน ทรงเป็นพุทธมามกะ รู้แจ้งในหลักธรรมลึกซึ้ง ตั้งพระทัยแน่วแน่จะบำเพ็ญภาวนา เพื่อหลุดพ้นสังสารวัฏ ทรงออกบวชวันที่ 19 เดือน 9 พระเจ้าเมี่ยวจวงไม่เห็นด้วย จึงบังคับให้เลือกราชบุตรเขย เพื่อจะได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อไป แต่เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านไม่สนพระทัยเรื่องลาภ ยศ สรรเสริญ อันจอมปลอม แม้จะถูกพระบิดาดุด่าอย่างไร พระองค์ก็ไม่เคยนึกโกรธเคืองแต่อย่างใด ต่อมาเจ้าหญิงสามพระองค์ได้ถูกขับไปทำงานหนักในสวนดอกไม้ เช่น หาบน้ำ ปลูกดอกไม้ ทั้งนี้เพื่อทรมานให้เปลี่ยนความตั้งใจ แต่ก็มีเหล่ารุกขเทวดามาช่วยทำแทนให้ทั้งหมด เมื่อพระเจ้าเมี่ยวจวงเห็นว่าไม่ได้ผล จึงรับสั่งให้หัวหน้าแม่ชี นำเจ้าหญิงทั้งสามไปอยู่ที่วัดนกยูงขาว และให้เอางานของแม่ชีทั้งวัดมอบให้เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านทำพระองค์เดียว แต่พระองค์มีพระทัยเด็ดเดี่ยว ไม่เกี่ยงงานการต่างๆ ก็มีเหล่าเทพารักษ์มาช่วยทำแทนให้อีก พระเจ้าเมี่ยวจวงเข้าพระทัยว่า พวกแม่ชีไม่กล้าเคี่ยวเข็ญใช้งานหนัก ก็ยิ่งทรงกริ้วหนักขึ้น สั่งให้ทหารเผาวัดนกยูงขาวจนวอดเป็นจุณไป พร้อมกับพวกแม่ชีทั้งวัด มีแต่เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านเท่านั้นที่ปลอดภัยรอดชีวิตมาได้ พระเจ้าเมี่ยวจวงทรงทราบดังนั้น จึงรับสั่งให้นำตัวเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านไปประหารชีวิต เทพารักษ์คอยคุ้มครองเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านอยู่ โดยเนรมิตทองทิพย์เป็นเกราะห่อหุ้มตัว คมดาบของนายทหารจึงไม่อาจระคายพระวรกาย ดาบหักถึง 3 ครั้ง 3 ครา พระเจ้าเมี่ยวจวงทรงกริ้วยิ่งนัก โดยเข้าพระทัยว่านายทหารไม่กล้าประหารจริง จึงให้ประหารนายทหารแทน แล้วรับสั่งให้จับเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านไปแขวนคอ ทว่าผ้าแพรที่แขวนคอก็ขาดสะบั้นลงอีก ทันใดนั้นปรากฏมีเสือเทวดาตัวหนึ่งได้นำเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านขึ้นพาดหลังแล้วเผ่นหนีไปที่เขาเซียงซัน ต่อมา เทพไท่ไป๋ได้แปลงร่างเป็นชายชรามาโปรดเจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน ชี้แนะเคล็ดวิธีการบำเพ็ญเพียรเครื่องดับทุกข์ จนสามารถบรรลุมรรคผลสำเร็จธรรม วันที่ 19 เดือน 6 ข้างฝ่ายพระเจ้าเมี่ยวจวงเข้าพระทัยว่า เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านถูกเสือคาบไปกินเสียแล้ว จึงไม่ได้ติดใจตามราวีอีก

สล็อต

ต่อมาไม่นานบาปกรรมที่พระองค์ก่อไว้ส่งผล เกิดป่วยด้วยโรคร้ายแรง ไม่มียารักษาให้หายได้ เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านได้ทรงทราบด้วยญาณวิถีว่า พระเจ้าเมี่ยวจวงกำลังประสบเคราะห์กรรมอย่างหนัก ด้วยความกตัญญูกตเวทีเป็นเลิศ มิได้ถือโทษโกรธการกระทำพระบิดาแม้แต่น้อย ทรงได้สละดวงตาและแขนสองข้าง เพื่อรักษาพระบิดาจนหายจากโรคร้าย ว่ากันว่า ภายหลังสำเร็จอรหันต์ ได้ดวงตาและพระกรคืน เคยแสดงปาฏิหาริย์เป็นปางกวนอิมพันมือ เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านนั้น ตอนแรกเป็นชาวพุทธ ตอนหลังเทพไท่ไป๋ได้มาโปรด ชี้แนะหนทางดับทุกข์ เหตุนี้พระโพธิสัตว์กวนอิมจึงเป็นเทพทั้งฝ่ายพุทธและฝ่ายเต๋าในเวลาเดียวกั พระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคบุรุษเพศ พระโพธิสัตว์กวนอิม วัดยานนาวา กรุงเทพ สำหรับรูปประติมากรรมพระแม่กวนอิมในลักษณะของเพศหญิงที่เป็นที่นับถือกันในปัจจุบันนั้น แท้จริงแล้ว เมื่อครั้งศาสนาพุทธแรกเผยแผ่จากอินเดียสู่จีนนั้น รูปลักษณ์ของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม)ก็เป็นภาพของพระโพธิสัตว์เพศชายเช่นเดียวกับในอินเดีย สันนิษฐานว่า คติเกี่ยวกับรูปเคารพพระโพธิสัตว์กวนอิม น่าจะมีมาตั้งแต่สมัยสามก๊กและราชวงค์จิ้น จนกระทั่งถึงสมัยหนานเป่ยเฉา หลักฐานสำคัญก็คือ รูปวาดจิตรกรรมฝาผนังและรูปปฏิมากรรมแกะสลักพระโพธิสัตว์กวนอิมที่ปรากฏอยู่ในถ้ำม่อเกา (莫高)ที่สร้างขึ้นในช่วงหนานเป่ยเฉานั้น เป็นภาพของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม) ที่มีลักษณะแบบเพศชาย มีริมฝีปากหนาและมีหนวดเครา ส่วนเหตุผลของความเปลี่ยนแปลงจากบุคลิกลักษณะของพระอวโลกิเตศวรที่เดิมเป็นเพศชายจนแปรเปลี่ยนเป็นเพศหญิงนั้น นักประติมานวิทยา สันนิษฐานว่า น่าจะมาจากเหตุผล 2 ประการ แรก นั้นคือ พระโพธิสัตว์กวนอิมเป็นผู้ทรงโปรดสัตว์โลก ผู้ตกทุกข์ได้ยาก และในสมัยโบราณนั้น ผู้หญิงมักได้รับการกดขี่ข่มเหงและทุกข์ทรมานมากกว่าเพศชาย จึงเกิดภาพลักษณ์ในด้านที่เป็นเพศหญิง เพื่อช่วยเหลือสตรีให้หลุดพ้นจากบ่วงกรรม ประการที่สอง นั้นคือ ผู้หญิงเป็นเพศที่มีความอ่อนโยนและมีจิตใจที่ดีงามกว่าเพศชาย โดยเฉพาะความรักของผู้เป็นมารดา อันเป็นสัญลักษณ์ของความเมตตาการุณย์ต่อบุตร ดังนั้น จึงเชื่อกันว่า นี้คือเหตุเปลี่ยนแปลงของภาพแห่งลักษณะพระโพธิสัตว์กวนอิมที่แปรเปลี่ยนรูปลักษณ์เป็นเพศหญิงในที่สุด

สล็อตออนไลน์

ในด้านศิลปกรรมจีน ได้สะท้อนสัญลักษณ์ของพระโพธิสัตว์กวนอิมที่แสดงถึงความเมตตากรุณา อาทิ ภาพพระแม่กวนอิมยืนประทับบนหลังมังกรกลางมหาสมุทร , ภาพพระแม่กวนอิมพรมน้ำมนต์ศักดิ์สิทธิ์จากกิ่งหลิวในแจกัน , ภาพพระแม่กวนอิมประทับนั่งกลางป่าไผ่ , ภาพพระแม่กวนอิมปางประธานบุตร และภาพพระแม่กวนอิมพันมือ เป็นต้น แต่ไม่ว่าจะแสดงภาพแห่งพระแม่กวนอิมในลักษณะใด พระองค์ก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์ของพระโพธิสัตว์ผู้เปี่ยมด้วยเมตตากรุณา ที่ประทับอยู่กลางใจของผู้ศรัทธาจนถึงปัจจุบัน ความเชื่อ งค์หนานไห่กวนอิม(南海观音) ความเชื่อที่มีความเกี่ยวข้องกับพระโพธิสัตว์กวนอิมมีหลากหลายความเชื่อด้วยกัน เช่น
ในไซอิ๋ว ชาวจีนเชื่อว่า พระโพธิสัตว์กวนอิมยังมีบทบาทในวรรณกรรมเรื่องไซอิ๋ว โดยเริ่มแรกทีเดียวซุนหงอคงไม่เชื่อฟังพระถังซำจั๋ง พระแม่กวนอิมจึงประทานเชือกประหลาดและมาบอกพระถังซำจั๋งว่า จงรับรัดเกล้านี้ไป ถ้าหากสวมไปแล้ว แล้วพูดว่า รัดเกล้า รอบเดียว ก็จะปวดหัวเหมือนมีสิ่งใดมัดศีรษะ ตามคติมหายาน
ส่วนอีกความเชื่อหนึ่งคือ ท่านสถิตย์ ณ เกาะผู่โถวซาน (普陀山) และปฏิบัติธรรม ณ ที่นั่น (ปัจจุบันมีเทวรูปองค์ใหญ่เป็นพระแม่กวนอิมปางทรงธรรมจักรในพระหัตถ์ซ้าย ส่วนพระหัตถ์ขวาทำพระกิริยาห้าม มองไปที่ทะเลใต้ เรียกว่า หนานไห่กวนอิม (南海观音)) นอกจากนี้ ผู้ที่นับถือ(โดยเฉพาะในไทย)มีเคล็ดลับบอกว่า ผู้ใดนับถือพระแม่กวนอิม ก็จะไม่สามารถรับประทานเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อวัวและเนื้อควาย และเชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดกัดกินเนื้อว้วควายเข้าไปแม้แต่คำเดียว อาจหมายถึงกินพระเจ้าเมี่ยวจวง รูปเคารพพระโพธิสัตว์กวนอิมมักมีเด็กชายและ เด็กหญิงหรือสาวกเบื้องซ้ายเบื้องขวาอยู่เคียงข้างเสมอ โดยถูกเรียกทับศัทพ์เป็นคำจีนว่า กิมท้ง คือเด็กชายผู้ที่ทุบศีรษะเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านจนดวงปราณละสังหารได้นั้นเอง และ เง็กนึ้งคือสาวใช้ผู้ปวารณาเป็นข้ารับใช้พระองค์ขณะเป็นภิกษุณี บางตำนานว่ากิมท้ง คือ บุตรชายคนรองแห่งเทพถือเจดีย์ (บิดาแห่งนาจา) นามว่า “ซ่านไฉ่”ซึ่งถวายตัวเป็นพุทธสาวกแห่งพระโพธิสัตว์กวนอิม และส่วนเง้กนึ้งบางตำนานกล่าวว่าคือ ธิดาพญามังกร นามว่าหลงหนี่ซึ่งเป็นพระธิดาแห่งเจ้าสมุทรผัวเจี๋ยหลัวปวารณาตนเป็นสาวกของพระโพธิสัตว์กวนอิม แต่บางตำนานว่า ซ่านไฉ่ กับ หลงหนี่เป็นพระโพธิสัตว์โดยมีเทวตำนานดังนี้ ตอนที่เจ้าหญิงหลงหนี่อายุได้ 8 พรรษาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาจากพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ บังเกิดเห็นดวงตาเห็นธรรมจึงเสด็จขึ้นจากวังบาดาล ยังชมพูทวีปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า และถวายตัวเป็นสาวก และต่อมาไม่นานสำเร็จมรรคผลเป็นพระโพธิสัตว์ ส่วนซ่านไฉ่นั้นเป็นบุตร 1 ใน 500 คนแห่งผู้เฒ่าฝูเฉิง เกิดเห็นว่าทุกสรรพสิ่งเป็นสิ่งไม่เที่ยงมาแต่ไหนแต่ไร ด้วยเหตุนี้จึงสนใจศึกษาพระธรรมโดยได้รับคำชี้แนะจากพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ และได้รับการสั่งสอนจากภิกษุ ถึง 53 รูป ผ่านอุปสรรคต่างๆจนบรรลุสู่การเป็นพระโพธิสัตว์

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

เฉากั๋วจิ้ว

ฮัวโต๋ (อังกฤษ: Hua Tuo; จีนตัวย่อ: 华陀; จีนตัวเต็ม: 華佗; พินอิน: Huà Tuó; เวด-ไจลส์: Hua T’o) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นชาวตำบลเจากุ๋น เมืองไพก๊ก มณฑลเจียงซู มีชื่อรองว่าเหยียนหัวะ มีอาชีพเป็นหมอ ฮัวโต๋เป็นผู้ที่มีฝีมือในด้านการรักษาโรคอันยอดเยี่ยม วิธีการรักษาคนไข้ด้วยการให้กินยาและผ่าตัด ฮัวโต๋เป็นหมอที่มีจรรยาแพทย์ รักษาคนโดยไม่หวังตอบแทนตั้งแต่ชาวบ้านจนถึงคนใหญ่คนโต เป็นที่เลื่องลือไปทั่วแผ่นดินจีน ในสมัยที่ซุนเซ็กครองแคว้นกังตั๋ง จิวท่าย ทหารเอกของซุนเซ็กช่วยซุนกวนฝ่าวงล้อมของกลุ่มโจรป่า จิวท่ายพาซุนกวนฝ่าวงล้อมไปได้ แต่ตนเองต้องอาวุธโจรนับสิบกว่าแผล งีห้วนแนะนำฮัวโต๋ให้มารักษาจิวท่าย ซุนเซ็กจึงได้เชิญตัวมารักษา ใช้เวลาแค่ 3 เดือน บาดแผลก็หายสนิท กวนอูให้หมอฮัวโต๋ผ่าตัดที่แขนเพื่อขูดพิษเกาฑัณฑ์ออกจากกระดูก ศิลปะญี่ปุ่นยุคเอะโดะ ผลงานของอุตะงะวะ คุนิโยะชิ ครั้งหนึ่งกวนอูได้ยกทัพมาตีเมืองอ้วนเซียที่มีโจหยิน ทหารเอกโจโฉรักษาไว้อยู่ กวนอูถูกลูกเกาทัณฑ์อาบยาพิษของข้าศึกที่ไหล่ขวาจึงต้องถอนทัพกลับค่าย กวนเป๋งเป็นผู้ไปตามตัวฮัวโต๋มาช่วยรักษา โดยการผ่าเนื้อที่ไหล่แล้วเอายาใส่และเย็บเนื้อให้เป็นเหมือนเดิม โดยที่กวนอูไม่แสดงอาการเจ็บปวดให้เห็น กวนอูได้สรรเสริญว่าฮัวโต๋เป็นหมอเทวดา ฝ่ายฮัวโต๋ได้ชื่นชมกวนอูว่า เป็นคนไข้ที่อดทนต่อความเจ็บปวดได้ดี เมื่อโจโฉป่วยเป็นโรคประสาทมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง ได้เชิญฮัวโต๋มารักษา ซึ่งบอกกับโจโฉว่าต้องผ่าศีรษะรักษาจึงจะหาย โจโฉโกรธหาว่าฮัวโต๋สมรู้ร่วมคิดกับกวนอูคิดฆ่าตน จึงให้นำตัวไปขังไว้จนเสียชีวิตในคุก

jumbo jili

ฮัวโต๋ได้แต่งตำราแพทย์ไว้เล่มหนึ่ง ชื่อว่า ชิงหนั่ง เผื่อว่าเมื่อตนสิ้นบุญ จะได้มีผู้สืบทอดวิชาการแพทย์ เมื่อฮัวโต๋ถูกโจโฉจับขังคุก มีผู้คุมชื่อ หงออาย ได้ส่งข้าวปลาอาหารให้ฮัวโต๋มิได้ขาด ฮัวโต๋รู้คุณหงออาย จึงเขียนจดหมายให้หงออายเอาไปให้ภรรยาของฮัวโต๋ ให้นางภรรยาฮัวโต๋นำตำราแพทย์นั้นให้หงออาย ฮัวโต๋ก็ได้สอนวิชาแพทย์ให้หงออายในคุก แล้วมอบตำรานั้นให้หงออาย ต่อมา ฮัวโต๋เสียชีวิตในคุก ภรรยาของหงออายเห็นว่าตำราแพทย์นั้นไร้ค่า จึงเผาทิ้งเสีย หงออายกลับบ้านมาเห็นเข้า ฉวยมาได้สองสามแผ่น เป็นแต่ตำราตอนเป็ดตอนไก่ ที่เหลือสูญไปสิ้น หงออายโกรธจึงร้องด่าภรรยาว่า “เหตุใดมึงจึงเอาตำราไปเผาไฟเสีย” ภรรยาหงออายว่า “ฮัวโต๋ครูของท่านที่นับว่าดีนักก็ตายในคุก ท่านจะเอาตำราไว้ต้องการอะไร” หงออายจึงได้แต่นั่งถอนหายใจแล้วคิดว่า “ตำราเอกฝ่ายแพทย์อย่างนี้ แต่นี้ไปเบื้องหน้าหามีไม่แล้ว” อย่างไรก็ดี หมอฮัวโต๋มีลูกศิษย์อยู่ 2 คน คนแรกนั้นชื่อ โงโพ้ คนที่สองนั้นชื่อ ฮ่วมอาสามก๊ก (ค.ศ. 220–280; อังกฤษ: Three Kingdoms; จีนตัวย่อ: 三国; จีนตัวเต็ม: 三國; พินอิน: Sānguó) เป็นไตรภาคีระหว่างรัฐวุย (魏) จ๊ก (蜀) และง่อ (吳) หลังการหมดอำนาจโดยพฤตินัยของราชวงศ์ฮั่นในจีน นำสู่การเริ่มหกราชวงศ์ (六朝) แต่ละรัฐปกครองโดยจักรพรรดิซึ่งอ้างการสืบราชสันตติวงศ์โดยชอบจากราชวงศ์ฮั่น

สล็อต

ในความหมายทางวิชาการอย่างเคร่งครัด ยุคสามก๊กหมายถึงช่วงเวลาระหว่างการก่อตั้งรัฐวุยใน ค.ศ. 220 และการพิชิตรัฐง่อโดยราชวงศ์จิ้นใน ค.ศ. 280 ส่วนแรก ๆ ซึ่งเป็นส่วน “ไม่เป็นทางการ” ของยุคสามก๊ก ตั้งแต่ ค.ศ. 184 ถึง 220 นั้น มีลักษณะการต่อสู้อุตลุดระหว่างขุนศึกในส่วนต่าง ๆ ของจีน ส่วนกลางของยุค ตั้งแต่ ค.ศ. 220 ถึง 263 มีลักษณะเป็นการจัดการที่เสถียรทางทหารมากกว่าระหว่างสามรัฐคู่แข่งวุย จ๊กและง่อ ส่วนหลังของยุคนี้มีลักษณะการล่มสลายของสถานการณ์ไตรภาคีซึ่งรวมการพิชิตจ๊กโดยวุย (ค.ศ. 263) การโค่นวุยโดยราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265) และการพิชิตง่อโดยจิ้น (ค.ศ. 280) ยุคสามก๊กเป็นยุคที่นองเลือดที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์จีน สำมะโนประชากรระหว่างสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออกรายงานประชากรไว้ประมาณ 50 ล้านคน แต่สำมะโนประชากรระหว่างต้นราชวงศ์จิ้นตะวันตกรายงานประชากรไว้ประมาณ 16 ล้านคน แม้เป็นยุคที่ค่อนข้างสั้น แต่ยุคนี้ถูกตีความแบบโรมานซ์ (romanticize) อย่างมากในวัฒนธรรมจีน ญี่ปุ่น เกาหลีและเวียดนาม มีการเฉลิมฉลองและเผยแพร่ในอุปรากร นิยายพื้นบ้าน นวนิยายและในสมัยหลัง ภาพยนตร์ โทรทัศน์และวิดีโอเกม งานที่ขึ้นชื่อที่สุด คือ สามก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) ของหลัว กวั้นจง ซึ่งเป็นนวนิยายประวัติศาสตร์สมัยราชวงศ์หมิงอิงเหตุการณ์ในยุคสามก๊ก

สล็อตออนไลน์

การปิดล้อมทั้งทางบกและทางทะเลของสุลต่านเมห์เมตที่ 2 เริ่มต้นขึ้นในต้นฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) ภายหลังที่ปิดล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ประมาณ 50 วัน กองทหารออตโตมันก็สามารถทะลวงกำแพงเมืองอันสูงใหญ่ของกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จในวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) และเข้ายึดกรุงได้ในที่สุด ซึ่งการปิดฉากอย่างสมบูรณ์ของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ซึ่งสามารถยืนหยัดอยู่รอดมาได้ยาวนานถึง 1,123 ปี มีจักรพรรดิปกครองรวมทั้งสิ้น 82 พระองค์จากหลายราชวงศ์ จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 จักรพรรดิองค์สุดท้ายของไบแซนไทน์ทรงสิ้นพระชนม์อย่างมีปริศนา ท่ามกลางความสับสนอลหม่านในวันที่กรุงคอนสแตนติโนเปิลแตก ความสำเร็จในการโจมตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลในครั้งนี้ ถือเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่ของชนเชื้อสายเติร์ก ซึ่งได้อพยพเข้าสู่อนาโตเลีย ภายหลังที่สุลต่าน Alparslan ทรงมีชัยชนะเหนือกองทัพจักรพรรดิโรมานุสที่ 6 (Romanus IV) แห่งอาณาจักรไบแซนไทน์ในสมรภูมิ ณ เมืองมาลัซเกิร์ต (Malazgirt) ในปี พ.ศ. 2244 (ค.ศ. 1701) ชัยชนะของสุลต่าน Alparslan ได้เปิดทางให้ชนเชื้อสายเติร์กจากเอเชียกลางหลั่งไหลเข้าสู่อาณาจักรอนาโตเลีย ในขณะที่ชัยชนะของสุลต่านเมห์เมตที่ 2 ในปี พ.ศ. 1996 ได้เปิดทางให้จักรวรรดิออตโตมันได้ก้าวไปสู่การเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ในเวลาต่อมา ภายหลังที่สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 ทรงตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลแตกเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453 พระองค์ก็ทรงได้รับการขานพระนามว่า ฟาติ เมห์เมต (Fatih Mehmet) “ฟาติ” (Fatih) มีความหมายว่า “ผู้พิชิต” (the conqueror) สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 โปรดให้ย้ายเมืองหลวงของจักรวรรดิจากเมืองเอดิร์เน มายังกรุงคอนสแตนติโนเปิล และได้โปรดให้มีการเปลี่ยนชื่อเมืองเสียใหม่เป็น อิสลามบูล (Islambul) ภายหลังที่มีการสถาปนาสาธารณรัฐตุรกีในปี พ.ศ. 2466 นครอิสลามบูลได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “อิสตันบูล” (Istanbul) ในปัจจุบันในระยะเวลาไม่ถึง 100 ปี นับตั้งแต่ที่สุลต่านเมห์เมตที่ 2 ทรงสามารถตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จ อาณาจักรออตโตมันได้แผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ว กลายเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมุสลิมในเวลาต่อมา จักรวรรดิออตโตมันได้ขยายอำนาจครอบคลุมดินแดนถึง 3 ทวีป ได้แก่ ตะวันออกกลาง (เอเชีย) แอฟริกาเหนือ และยุโรปบอลข่าน

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

ม่าจ้อโป๋

หวงตี้ หรือ จักรพรรดิเหลือง (จีน: 黃帝) เป็นหนึ่งในกษัตริย์ตามตำนานจีนและวีรบุรุษทางวัฒนธรรม เป็นหนึ่งในซานหวงอู่ตี้ ตำนานระบุว่า จักรพรรดิเหลืองครองราชย์ตั้งแต่ 2697 – 2597 หรือ 2696 – 2598 ปีก่อนคริสตกาล ลัทธิของพระองค์โดดเด่นอย่างมากในยุคฮั่นกล่าวกันว่าพระองค์เป็นผู้ให้กำเนิดรัฐรวมศูนย์อำนาจ ผู้ปกครองจักรวาล และองค์อุปถัมภ์ศิลปะลับ พระองค์ได้รับการยกย่องว่าทรงประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมจำนวนมาก และปัจจุบันได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ริเริ่มอารยธรรมจีน และกล่าวกันว่าเป็นผู้บรรพบุรุษของชาวจีนหัวเซี่ยสามราชาห้าจักรพรรดิ (จีน: 三皇五帝; พินอิน: Sānhuáng Wǔdì; อังกฤษ: Three Sovereigns and Five Emperors) เป็นกลุ่มบุคคลหรือเทวดาซึ่งตำนานกล่าวว่า ปกครองภาคเหนือของจีนโบราณ สามราชามาก่อนห้าจักรพรรดิ และห้าจักรพรรดินั้นมีผู้กำหนดว่า ปกครองอยู่ในราว 2852–2070 ปีก่อนคริสตกาล ปัจจุบัน อาจถือว่า บุคคลเหล่านี้เป็นวีรบุรุษทางวัฒนธรรม (culture hero) ว่ากันว่า ราชาทั้งสามเป็นเทพหรือกึ่งเทพซึ่งสร้างความเป็นอยู่ที่ดีและอบรบสั่งสอนวิชาความรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผู้คน เช่น สอนให้ใช้ไฟ สอนปลูกสร้างบ้านเรือน สอนทำเรือกสวนไร่นา ค้นพบหยูกยา รวมถึงจัดตั้งปฏิทินและอักษรจีน ส่วนมเหสีของราชาบางองค์ก็ว่า เป็นผู้คิดค้นวัฒนธรรมเกี่ยวกับผ้าไหม ส่วนจักรพรรดิทั้งห้าก็ว่า เป็นปราชญ์ตัวอย่างซึ่งมีคุณธรรมล้ำเลิศ มีอายุยืนยาว ปกครองผู้คนให้สงบร่มเย็น เอกสารจีนโบราณยังระบุว่า สามราชาและห้าจักรพรรดิมีลักษณะพิเศษต่าง ๆ กันออกไป

jumbo jili

ยุคสมัยของสามราชาห้าจักรพรรดิอาจเป็นตำนานมากกว่าเรื่องจริง แต่เอกสารบางฉบับและการตีความใหม่ในบางแง่เห็นว่า ยุคสามราชาห้าจักรพรรดิมาก่อนยุคราชวงศ์เซี่ย (ซึ่งเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ ไม่มีตัวอักษร และปรากฏแต่ในบันทึกสมัยหลังมากแล้ว) คำว่า “หฺวังตี้” (皇帝) ซึ่งปัจจุบันแปลกันว่า “จักรพรรดิ” (emperor) นั้นก็มีที่มาจากคำว่า “หฺวัง” (ราชา) และ “ตี้” (จักรพรรดิ) อันเป็นคำเรียกกลุ่มสามราชาห้าจักรพรรดินี้ ผู้ใช้คำว่า “หฺวังตี้” เป็นบุคคลแรก คือ ฉินฉื่อหฺวังตี้ (秦始皇帝; “ปฐมจักรพรรดิฉิน”) แห่งรัฐฉิน (秦国)เอกสารโบราณระบุองค์ประกอบของสามราชาห้าจักรพรรดิไว้ต่างกันไป เอกสารส่วนใหญ่เขียนในสมัยหลังยุคสามราชาห้าจักรพรรดิมากแล้ว บางฉบับก็หลายร้อยปี บางฉบับเป็นพันปี และมักสร้างขึ้นจากความต้องการของผู้ปกครองในสมัยนั้น ๆ ที่ประสงค์จะแสดงว่า ตนสืบสายมาจากวีรบุรุษในตำนาน มากกว่าจะแสดงข้อเท็จจริงทางประวัติ เนื้อหาจึงมักเป็นไปในเชิงนิทานหรือตำนาน แม้เรียกว่า “สามราชา” แต่บุคคลที่เอกสารต่าง ๆ ระบุว่า เป็นสามราชา มีถึงสิบเอ็ดคน คือ ก้งกง (共工), จักรพรรดิเหลือง (黄帝), จู้หรง (祝融), เฉินหนง (神農), ซุ่ยเหริน (燧人), ตี้หฺวัง (地皇; “เจ้าโลก”), เทียนหฺวัง (天皇; “เจ้าฟ้า”), ไท่หฺวัง (泰皇; “เจ้าใหญ่”), นฺหวี่วา (女媧), ฝูซี (伏羲), และเหรินหฺวัง (人皇; “เจ้าคน”) ส่วนที่เรียกว่า “ห้าจักรพรรดิ” มีแปดคน คือ คู่ (嚳), จักรพรรดิเหลือง (黄帝), จฺวันซฺวี (顓頊), เฉ่าเฮ่า (少昊), ชุ่น (舜), ไท่เฮ่า (太昊), หยาน (炎), และเหยา (堯)

สล็อต

ยูฟรอซินี (อังกฤษ: Euphrosyne; กรีก: Εὐφροσύνη) เป็นเทพีองค์หนึ่งในสามองค์ในกลุ่มเทพีชาริทีสในตำนานเทพเจ้ากรีกที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า “Three Graces” (ไตรเทพี) เทพียูฟรอซินีเป็นธิดาของซูสและยูรีโนเม (Eurynome) และเป็นเทพีแห่งความสง่าและความงาม และความร่าเริง เทพียูฟรอซินีปรากฏเป็นหนึ่งในสามเทพีในรายละเอียดของภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” โดยซันโดร บอตตีเชลลีฤดูใบไม้ผลิ (อังกฤษ: Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี ค.ศ. 1551 จอร์โจ วาซารีกล่าวถึงภาพนี้ว่าเป็นการประกาศถึงการมาถึงของฤดูใบไม้ผลิ (อิตาลี: “Primavera”) ที่เป็นภาพที่อยู่ในคฤหาสน์เมดิชิในคาสเตลโลไม่ไกลจาก “คฤหาสน์เพตราเอีย” ลอเรนโซ ดิ ปิแอร์ฟรานเชสโค เดอ เมดิชิ (Lorenzo di Pierfrancesco de’ Medici) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของลอเรนโซ เดอ เมดิชิซื้อคฤหาสน์นี้ในปี ค.ศ. 1477 ซึ่งทำให้สรุปว่าภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่เขียนให้ปิแอร์ฟรานเชสโคเมื่อมีอายุ 14 ปีเมื่อซื้อคฤหาสน์ จากการสำรวจทรัพย์สินของปิแอร์ฟรานเชสโคและน้องชายจิโอวานนิ (Giovanni il Popolano) ในปี ค.ศ. 1499 กล่าวถึง ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ว่าตั้งแสดงอยู่ที่วังในเมืองฟลอเรนซ์ในห้องรอที่ติดกับห้องของปิแอร์ฟรานเชสโค

สล็อตออนไลน์

ภาพเขียนขนาดใหญ่เช่นนี้เป็นเรื่องปกติสำหรับครอบครัวที่มีฐานะมั่งคั่ง แต่ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงการเขียนรูปสัญลักษณ์คลาสสิกและการวางรูปแบบของงานเขียนแบบเรอเนซองส์ ภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” เป็นภาพของเทพีวีนัสขนาดเท่าตัวคนยืนกึ่งเปลือยอยู่กลางภาพ ภาพนี้เป็นภาพที่ผู้ชมจะเข้าใจความหมายของภาพได้ก็ด้วยการมีความรู้อันลึกซึ้งในวรรณกรรมของยุคเรอเนซองส์และความสามารถในการประสานทัศน์ต่างๆ เข้าด้วยกัน (syncretism) ขณะที่ตัวแบบบางตัวในภาพมาจากแรงบันดาลใจจากประติมากรรมโบราณแต่มิใช่เป็นงานก็อปปีงานโดยตรงแต่เป็นการเขียนแบบตีความหมายตามความคิดของบอตติเชลลี ที่ตัวแบบมีลักษณะเพรียว, รูปทรงที่เป็นแบบอุดมคติอันสูงส่ง และ มีลักษณะการวางท่าแบบราชสำนักของคริสต์ศตวรรษที่ 16 แบบแมนเนอริสม์ วีนัสยืนอยู่กลางภาพห่างจากตัวแบบอื่นๆ โดยมีคิวปิดเล็งศรแห่งความรักไปยังเทพีชาริทีส (Charites) หรือ “ไตรเทพี” ผู้ที่กำลังเต้นรำอยู่เป็นกลุ่มอยู่ทางด้านซ้ายของภาพ เทพีองค์ไกลไปทางขวาเป็นใบหน้าของคาเทอรินา สฟอร์ซา (Caterina Sforza) ที่บอตติเชลลีเขียนเป็นภาพเหมือนต่างหากในภาพ “แคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” สวนของวีนัสผู้เป็นเทพีแห่งความรักได้รับการอารักขาโดยเทพเมอร์คิวรีผู้กำลังเอื้อมมืออกไปแตะผลไม้ เมอร์คิวรีแต่งตัวด้วยเสื้อสีแดงอย่างหลวมๆ สวมหมวกเหล็กและห้อยดาบที่เป็นการแสดงว่าเป็นผู้อารักขาสวน การเป็นผู้สื่อข่าวจากพระเจ้าก็บอกได้จากรองเท้าที่มีปีกและคทางูเดี่ยวที่เมอร์คิวรีใช้ในการแยกงูสองตัวและรักษาความสงบ บอตติเชลลีเขียนภาพงูเป็นมังกรมีปีก จากทางด้านขวาเซไฟรัสเทพเจ้าแห่งลมพยายามออกมาไล่นิมฟ์คลอริส ทางซ้ายของคลอริสคือเทพีฟลอราเทพีแห่งฤดูใบไม้ผลิผู้กำลังโปรยดอกไม้ที่อาจจะเป็นภาพของซิโมเนตตา เวสพุชชิ (Simonetta Vespucci)

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

ตี่บ้อเนี่ยเนี้ย

พระอัศวิน (อังกฤษ: Ashvins, สันสกฤต: अश्विन) เป็นเทพเจ้าตามคติความเชื่อของศาสนาฮินดู พระอัศวินเป็นเทพเจ้าฝาแฝดที่มีศีรษะเป็นม้า และมีร่างกายเป็นมนุษย์ องค์หนึ่งมีพระนามว่า นาสัตยอัศวิน (ความกรุณา) อีกองค์หนึ่งมีพระนามว่า ทัศรอัศวิน (ความรู้แจ้ง) เทียบได้กับเทพเจ้าตามเทพปกรณัมกรีก เช่น โฟบอส และ ดีมอส, ฮิปนอส และ ทานาทอส, แคสเตอร์ และ พอลลักซ์ เป็นต้น พระอัศวินเป็นพระโอรสของพระอาทิตย์ กับนางสัญญา นางสัญญาต้องการจะหนีพระอาทิตย์ไปบวชอยู่ในป่า จึงแปลงร่างเป็นม้าเพศเมีย แต่พระอาทิตย์ก็ยังแปลงร่างเป็นม้าเพศผู้ไปอยู่ด้วยจนเกิดเป็นพระอัศวินขึ้นมา พระอัศวิน เป็นเทพที่ประทานนำทรัพย์ต่าง ๆ มาให้มนุษย์ และยังปกป้องมนุษย์จากภัยอันตรายต่าง ๆ จนถึงโรคภัยไข้เจ็บ เพราะพระอัศวินยังมีหน้าที่เป็นแพทย์สวรรค์ด้วย พระอัศวิน ยังเป็นเทพแห่งแสงสว่าง ทั้งคู่จะขับรถม้านำหน้าราชรถของพระอาทิตย์มาก่อนเวลารุ่งสาง พระอัศวินได้ถูกกล่าวถึงเป็นอย่างมากในคัมภีร์ฤคเวท ซึ่งในคัมภีร์นั้นมีการกล่าวถึงพระนามของพระอัศวินถึง 400 ครั้งคำว่า สํสฺกฺฤต (संस्कृत) แปลว่า “กลั่นกรองแล้ว” ส่วนคำว่า สํสฺกฺฤตา วากฺ (संस्कृता वाक्) จะใช้เพื่อเรียก “ภาษาที่กลั่นกรองแล้ว” ซึ่งเป็นภาษาของชนชั้นพราหมณ์ ตรงข้ามกับภาษาพูดของชาวบ้านทั่วไปที่เรียกว่าปรากฤต ภาษาสันสกฤตมีพัฒนาการในหลายยุคสมัย โดยมีหลักฐานเก่าแก่ที่สุด คือภาษาที่ปรากฏในคัมภีร์ฤคเวท (เมื่อราว 1,200 ปีก่อนคริสตกาล) อันเป็นบทสวดสรรเสริญพระเจ้าในลัทธิพราหมณ์ในยุคต้น ๆ อย่างไรก็ตาม ในการจำแนกภาษาสันสกฤตโดยละเอียด นักวิชาการอาจถือว่าภาษาในคัมภีร์ฤคเวทเป็นภาษาหนึ่งที่ต่างจากภาษาสันสกฤตแบบแผน (Classical language) และเรียกว่า ภาษาพระเวท (Vedic language) ภาษาพระเวทดั้งเดิมยังมิได้มีการวางกฎเกณฑ์ให้เป็นระเบียบรัดกุมและสละสลวย และมีหลักทางไวยากรณ์อย่างกว้าง ๆ ปรากฏอยู่ในบทสวดในคัมภีร์พระเวทของศาสนาฮินดู เนื้อหาคือบทสวดสรรเสริญเทพเจ้า เอกลักษณ์ที่ปรากฏอยู่เฉพาะในภาษาพระเวทคือระดับเสียง (Accent) ซึ่งกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด และถือเป็นสิ่งสำคัญของการสวดพระเวทเพื่อให้สัมฤทธิผล

jumbo jili

ภาษาสันสกฤตมีวิวัฒนาการมาจากภาษาชนเผ่าอารยัน หรืออินโดยูโรเปียน (Indo-European) บรรพบุรุษของพวกอินโด-อารยัน ตั้งรกรากอยู่เหนือเอเซียตะวันออก (ตอนกลางของทวีปเอเชีย – Central Asia) โดยไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง กลุ่มอารยันต้องเร่ร่อนทำมาหากินเหมือนกันชนเผ่าอื่น ๆ ในจุดนี้เองที่ทำให้เกิดการแยกย้ายถิ่นฐาน การเกิดประเพณี และภาษาที่แตกต่างกันออกไป ชนเผ่าอารยันได้แยกตัวกันออกไปเป็น 3 กลุ่มใหญ่ กลุ่มที่ 1 แยกไปทางตะวันตกเข้าสู่ทวีปยุโรป กลุ่มที่ 2 ลงมาทางตะวันออกเฉียงใต้ อนุมานได้ว่าน่าจะเป็นชนชาติอิหร่านในเปอร์เซีย และกลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่สำคัญที่สุด กลุ่มนี้แยกลงมาทางใต้ตามลุ่มแม่น้ำสินธุ (Indus) ชาวอารยันกลุ่มนี้เมื่อรุกเข้าในแถบลุ่มแม่น้ำสินธุแล้ว ก็ได้ไปพบกับชนพื้นเมืองที่เรียกว่า ดราวิเดียน (Dravidian) และเกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมและภาษา โดยชนเผ่าอารยันได้นำภาษาพระเวทยุคโบราณเข้าสู่อินเดียพร้อม ๆ กับความเชื่อทางศาสนา ซึ่งในยุคต่อมาได้เกิดตำราไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตคือ อษฺฏาธฺยายี (अष्टाध्यायी “ไวยากรณ์ 8 บท”) ของปาณินิ เชื่อกันว่ารจนาขึ้นในช่วงพุทธกาล ปาณินิเห็นว่าภาษาสันสกฤตแบบพระเวทนั้นมีภาษาถิ่นปนเข้ามามากพอสมควรแล้ว หากไม่เขียนไวยากรณ์ที่เป็นระเบียบแบบแผนไว้ ภาษาสันสกฤตแบบพระเวทที่เคยใช้มาตั้งแต่ยุคพระเวทจะคละกับภาษาท้องถิ่นต่าง ๆ ทำให้การประกอบพิธีกรรมไม่มีความศักดิ์สิทธิ์ ดังนั้น จึงแต่งอัษฏาธยายีขึ้น ความจริงตำราแบบแผนไวยากรณ์ก่อนหน้าปาณินิได้มีอยู่ก่อนแล้ว แต่เมื่อเกิดอัษฏาธยายีตำราเหล่านั้นก็ได้หมดความนิยมลงและสูญไปในที่สุด ผลของไวยากรณ์ปาณินิก็คือภาษาเกิดการจำกัดกรอบมากเกินไป ทำให้ภาษาไม่พัฒนา ในที่สุด ภาษาสันสกฤตแบบปาณินิ หรือภาษาสันสกฤตแบบฉบับ จึงกลายเป็นภาษาเขียนในวรรณกรรม ซึ่งผู้ที่สามารถจะอ่าน เขียนและแปลได้จะต้องใช้เวลามากพอสมควร ภาษาสันสกฤตแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มกว้าง ๆ ได้แก่ ภาษาสันสกฤตแบบแผน และภาษาสันสกฤตผสม

สล็อต

ภาษาสันสกฤตแบบแผน Phrase sanskrit.svg เกิดขึ้นจากการวางกฎเกณฑ์ของภาษาสันสกฤตให้มีแบบแผนที่แน่นอนในสมัยต่อมา โดยนักปราชญ์ชื่อ ปาณินิตามประวัติเล่าว่าเป็นผู้เกิดในตระกูลพราหมณ์ แคว้นคันธาระราว 57 ปีก่อนพุทธปรินิพพาน บางกระแสว่าเกิดราว พ.ศ. 143 ปาณินิได้ศึกษาภาษาในคัมภีร์พระเวทจนสามารถหาหลักเกณฑ์ของภาษานั้นได้ จึงจัดรวบรวมขึ้นเป็นหมวดหมู่ เรียบเรียงเป็นตำราไวยากรณ์ขึ้น 8 บทให้ชื่อว่า อัษฏาธยายี มีสูตรเป็นกฎเกณฑ์อธิบายโครงสร้างของคำอย่างชัดเจน นักวิชาการสมัยใหม่มีความเห็นว่า วิธีการศึกษาและอธิบายภาษาของปาณินิเป็นวิธีวรรณนา คือศึกษาและอธิบายตามที่ได้สังเกตเห็นจริง มิได้เรียบเรียงขึ้นตามความเชื่อส่วนตัว มิได้เรียบเรียงขึ้นตามหลักปรัชญา คัมภีร์อัษฏาธยายีจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นตำราไวยากรณ์เล่มแรกที่ศึกษาภาษาในแนววิทยาศาสตร์และวิเคราะห์ภาษาได้สมบูรณ์ที่สุด[ต้องการอ้างอิง] ความสมบูรณ์ของตำราเล่มนี้ทำให้เกิดความเชื่อในหมู่พราหมณ์ว่า ตำราไวยากรณ์สันสกฤตหรือปาณินิรจนานี้ สำเร็จได้ด้วยอำนาจพระศิวะ อย่างไรก็ตาม นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าการวางแบบแผนอย่างเคร่งครัดของปาณินิ ถือเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาษาสันสกฤตต้องกลายเป็นภาษาตายอย่างรวดเร็วก่อนเวลาอันควร[ต้องการอ้างอิง] เพราะทำให้สันสกฤตกลายเป็นภาษาที่ถูกจำกัดขอบเขต (a fettered language) ด้วยกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ที่เคร่งครัดและสลับซับซ้อน ภาษาสันสกฤตที่ได้ร้บการปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์ให้ดีขึ้นโดยปาณินินี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เลากิกภาษา” หมายถึงภาษาที่ใช้กับสิ่งที่เป็นไปในทางโลก ในมหากาพย์รามายณะ ทวิวิท และ แมนทะ ทหารวานร ของพระรามเป็นบุตรของพระอัศวินทั้งคู่ ในมหากาพย์มหาภารตะ นางมาทรี ชายาของท้าวปาณฑุได้ขอโอรสจากเทพเจ้าทั้งหลาย โดยที่พระนางมีลูกกับพระอัศวินสองคน คือ นกุล (เกิดจากพระนาสัตยอัศวิน) และ สหเทพ (เกิดจากพระทัศรอัศวิน)

สล็อตออนไลน์

ตัวละครหลักของมหากาพย์ อีเลียด จำนวนมากมีส่วนเชื่อมโยงสงครามเมืองทรอยเข้ากับตำนานปรัมปราอื่น ๆ เช่น ตำนานเจสันกับขนแกะทองคำ ตำนานกบฏเมืองธีบส์ และการผจญภัยของเฮราคลีส (เฮอร์คิวลีส) ตำนานปรัมปราของกรีกโบราณเหล่านี้มีเรื่องเล่ามาในหลากหลายรูปแบบ โฮเมอร์จึงค่อนข้างมีอิสระในการเลือกเอารูปแบบตามที่เขาต้องการเพื่อนำมาประกอบในมหากาพย์ รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดดูใน ตำนานกรีกโบราณ เรื่องราวในมหากาพย์ อีเลียด ครอบคลุมช่วงเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ในช่วงปีที่สิบและปีสุดท้ายของสงครามเมืองทรอย มิได้เล่าถึงความเป็นมาของการศึกและเหตุการณ์ในช่วงต้น (คือเรื่องที่ปารีสลักพานางเฮเลนมาจากกษัตริย์เมนนิเลอัส) และมิได้เอ่ยถึงเหตุการณ์ตอนสิ้นสุดสงคราม (คือการตายของอคิลลีส และการล่มสลายของเมืองทรอย) อย่างไรก็ดีมีบทกวีมหากาพย์เรื่องอื่นที่บรรยายความต่อจากนี้ แต่หลงเหลือรอดมาถึงปัจจุบันเพียงเล็กน้อย มีเนื้อความกระจัดกระจายเป็นส่วน ๆ ไม่ต่อเนื่อง รายละเอียดของสงครามทั้งหมด โปรดดูจากบทความเรื่อง สงครามเมืองทรอย บทกวีเริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวกรีกได้จับตัวนางไครเซอีส บุตรีของไครสิสนักบวชประจำวิหารของอพอลโลมาแล้ว และมอบนางให้เป็นรางวัลแก่อะกาเมมนอนกษัตริย์แห่งไมซีนี และผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพกรีก เทพอพอลโลจึงบันดาลให้เกิดโรคระบาดในกองทัพกรีก เพื่อบีบบังคับให้อะกาเมมนอนคืนตัวนางไครเซอีสให้แก่บิดาของนาง อะกาเมมนอนจึงไปบังคับเอาตัวนางไบรเซอีสจากอคิลลีสมาแทน นางไบรเซอีสเป็นทาสชาวเอเคียนที่มอบให้เป็นรางวัลแก่อคิลลีส นักรบผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งยุค อคิลลีสรู้สึกน้อยใจจึงถอนตัวออกจากการรบ ฝ่ายเมืองทรอยนั้นมีเจ้าชายเฮกเตอร์ โอรสของท้าวเพรียม เป็นแม่ทัพนำศึกป้องกันเมืองและปกป้องครอบครัวของตน เมื่ออคิลลีสไม่ยอมร่วมรบด้วย เฮกเตอร์จึงสามารถมีชัยชนะเหนือกองทัพกรีก นักรบกรีกที่เหลืออยู่ รวมถึงโอดิซูสและดิโอมีดีส ต่างได้รับบาดเจ็บ ด้วยเวลานั้นปวงเทพต่างเข้าข้างฝ่ายเมืองทรอย ปโตรกลัสจึงปลอมตัวเป็นอคิลลีสโดยนำเสื้อเกราะของเขามาสวม และนำทัพชาวเมอร์มิดอนกลับเข้าร่วมรบเพื่อช่วยป้องกันเรือของพวกกรีกไม่ให้ถูกเผาทำลาย ปโตรกลัสถูกเฮกเตอร์สังหารสิ้นชีพ อคิลลีสจึงกลับเข้าร่วมรบเพื่อแก้แค้นให้ปโตรกลัส เขาสังหารเฮกเตอร์ได้สำเร็จด้วยการประลองตัวต่อตัว แล้วเอาร่างของเฮกเตอร์กลับไปค่ายด้วย ท้าวเพรียมลอบเข้าค่ายทัพกรีก (ด้วยความช่วยเหลือของเทพเฮอร์มีส) เพื่อไถ่ร่างของบุตรชายคืน อคิลลีสเกิดความสงสารจึงคืนให้ บทกวีจบลงที่การพิธีศพของเฮกเตอร์

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

ยูเรนัส (เทพปกรณัม)

ยูเรนัส (อังกฤษ: Uranus) หรือ อูรานอส (กรีกโบราณ: Οὐρανός) เป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า ทรงเป็นทั้งบุตรและสวามีของพระแม่ไกอา เทพีแห่งพื้นดิน ท่านทั้งสองสมหวังกันด้วยอีรอส (คิวปิด) เทพเจ้าแห่งความรัก ที่ทั้งคู่รักกันด้วยเหตุผลคือ พื้นดินนั้นมองท้องฟ้าทุกวัน จนเทพอีรอสทนไม่ไหวจึงแผลงศรให้ทั้งคู่รักกัน มีลูกด้วยกันคือ เหล่ายักษ์ ปีศาจผู้อัปลักษณ์ ทำให้ยูเรนัสไม่พอใจอย่างมาก จึงจับไปขังที่นรกที่ลึกที่สุดคือ นรกทาร์ทารัส เกิดความเคียดแค้นใจกับไกอาอย่างยิ่ง บุตรกลุ่มต่อมาคือ ไททัน ซึ่งมีรูปลักษณ์ดูดี ทำให้ท่านพอใจ ยิ่งเกิดความเคียดแค้นต่อไกอาเป็นเท่าทวีคูณ นางจึงขอร้องให้ลูก ๆ เหล่าไททันสังหารยูเรนัส โครนัสหนึ่งในเหล่าไททันตอบตกลงที่จะช่วย ต่อมายูเรนัสจึงโดนโค่นล้มโดยโครนัส ลูกชายตนเอง นอกจากนี้ชื่อของเทพยูเรนัสยังถูกนำมาใช้ตั้งเป็นชื่อของ ดาวยูเรนัส ด้วยดาวยูเรนัส (อังกฤษ: Uranus หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 50,724 กิโลเมตร นับได้ว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่3 ในระบบสุริยะของเรา ยูเรนัสถูกตั้งชื่อตามเทพเจ้ายูเรนัส(Ouranos) ของกรีก สัญลักษณ์แทนดาวยูเรนัส คือ Uranus symbol.ant.png หรือ สัญลักษณ์ดาราศาสตร์ดาวยูเรนัส (ส่วนใหญ่ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คือ ดาวมฤตยู ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส คือ เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781) ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสมี วงแหวนจางๆโดยรอบ

jumbo jili

และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัสพร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) เคลื่อนผ่านบรรยากาศชั้นนอก ประกอบด้วยไฮโดรเจน และฮีเลียม เป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไปชั้นในมีส่วนประกอบของ แอมโมเนีย มีเทน ผสมอยู่ด้วย ดาวยูเรนัสแผ่ความร้อนออกจากตัวดาวน้อยมาก อาจจะเป็นเพราะภายในดาวไม่มีการยุบตัวแล้ว หรืออาจมีบางอย่างได้ปิดกั้นไว้แต่ก็ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัด นักดาราศาสตร์คาดว่า แกนของดาวยูเรนัส มีลักษณะคล้ายกับดาวเสาร์และดาวพฤหัสบดี ถัดมาเป็นแกนชั้นนอกที่เต็มไปด้วยแอมโมเนียและมีเทน ซึ่งทำให้เรามองดาวยูเรนัสมีลักษณะเป็นสีฟ้าแกนกลางของดาวยูเรนัสเป็นหินแข็งเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 17,000 กิโลเมตร ล้อมไปด้วยชั้นของเหลวที่ประกอบไปด้วยนํ้าและแอมโมเนีย แมนเทิลชั้นนอกประกอบด้วยฮีเลียมเหลว ไฮโดรเจนเหลวที่ผสมกลมกลืนกับชั้นบรรยากาศ คาบการหมุนรอบดวงอาทิตย ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 84 ปี แกนของดาวทำมุมกับระนาบระบบสุริยะถึง 98 องศา ทำให้ฤดูกาลบนดาวยาวนานมาก คือ ด้านหนึ่งจะมีฤดูหนาว 42 ปี และอีกด้านจะร้อนนาน 42 ปี และบางที่บนดาวพระอาทิตย์จะไม่ตกเลยตลอด 42 ปี และบางที่ก็จะไม่ได้รับแสงเลยตลอด 42 ปี ที่ระยะนี้ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์แผ่มาน้อยมาก จึงทำให้กลางวันและกลางคืนของดาวยูเรนัสมีอุณหภูมิต่างกัน 2 องศาเซลเซียสเท่านั้น ทั้งนี้การหมุนรอบตัวเองของดาวยูเรนัสยังตรงข้ามกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ คือหมุนไปในทิศตามเข็มนาฬิกาเหมือนกันกับดาวศุกร์ ดวงจันทร์บริวา ดูบทความหลักที่ ดวงจันทร์ของดาวยูเรนัส ที่ค้นพบแล้วมีทั้งหมด 27 ดวง 5 ดวงหลัก คือ มิแรนดา (Miranda) แอเรียล (Ariel) อัมเบรียล (Umbriel) ทิทาเนีย (Titania) และโอเบอรอน (Oberon) ดวงจันทร์ทิทาเนียและโอเบอรอนพบโดยเฮอร์เชล 6 ปี หลังจากที่ค้นพบดาวยูเรนัส ส่วนแอเรียลและอัมเบรียลพบโดยวิลเลียม ลาสเชลล์ วงแหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก ผิดกับวงแหวนที่สว่างของดาวเสาร์ ถ้าไม่มองด้วยกล้องโทรทรรศน์ก็จะมองไม่เห็น วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกพบโดยหอดูดาวแอร์บอร์นในปี 1977 ซึ่งเป็นยานชนิดพิเศษที่นำกล้องโทรทัศน์ไปด้วย นักดาราศาสตร์บนเครื่องบินเฝ้ามองดูดาวยูเรนัสเมื่อมีดาวฤกษ์เคลื่อนไหวมาตรงข้ามหน้าของมัน ยานวอยเอเจอร์ 2 มองดูที่วงแหวนเมื่อมันบินผ่านดาวยูเรนัส วงแหวนของดาวยูเรนัสจะแคบ วงแหวนที่กว้างที่สุดคือช่องว่างที่ใหญ่ซึ่งประกอบไปด้วยก้อนฝุ่น ยานวอเยเจอร์พบส่วนโค้งบางอย่าง ซึ่งเป็นส่วนของวงแหวนที่ไม่สมบูรณ์ วงแหวนของดาวยูเรนัสประกอบด้วยชิ้นน้ำแข็งมืดที่เคลื่อนไหว น้ำแข็งประกอบด้วยมีเทนแข็ง ชิ้นส่วนของมันอาจจะชนกันและทำให้เกิดฝุ่นที่อยู่ในช่องว่างระหว่างวงแหวน

สล็อต

จูเลียส ซีซาร์ได้ประกาศตัวเป็นผู้เผด็จการตลอดอายุขัย ซึ่งตามกฎหมายแล้ว ผู้เผด็จการจะต้องไม่อยู่ในตำแหน่งเกิน 6 เดือน ตำแหน่งของซีซาร์จึงขัดกับกฎหมายอย่างเห็นได้ชัด ทำให้เหล่าสมาชิกสภาซีเนตบางคนเกิดความหวาดระแวงว่าเขาจะตั้งตนเป็นกษัตริย์และสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ดังนั้นจึงเกิดการวางแผนลอบสังหารขึ้น และในวันที่ 15 มีนาคม 44 ปีก่อนคริสตกาล จูเลียส ซีซาร์เสียชีวิตลงโดยฝีมือของพวกลอบสังหาร ออคเตเวียน บุตรบุญธรรมและทายาททางการเมืองของจูเลียส ซีซาร์ ได้เรียนรู้จากความผิดพลาดที่เกิดขึ้น และไม่อ้างสิทธิในตำแหน่งผู้เผด็จการ แต่ได้ขยายอำนาจภายใต้รูปแบบสาธารณรัฐอย่างระมัดระวัง โดยเป็นการตั้งใจที่จะสนับสนุนภาพลวงแห่งการฟื้นฟูของสาธารณรัฐ เขาได้รับตำแหน่งทางการเมืองหลายตำแหน่ง เช่น ออกุสตุส ซึ่งแปลว่า “ผู้สูงส่ง” และพรินเซปส์ ซึ่งแปลว่า”พลเมืองชั้นหนึ่งแห่งสาธารณรัฐโรมัน” หรือ “ผู้นำสูงสุดของสภาซีเนตโรมัน” ตำแหน่งนี้เป็นรางวัลสำหรับบุคคลผู้ทำงานรับใช้รัฐอย่างหนัก แม่ทัพปอมปีย์เคยได้รับตำแหน่งนี้เช่นกัน นอกจากนี้ ออกุสตุสยังได้สิทธิในการสวมมงกุฎพลเมือง ที่ทำจากไม้ลอเรลและไม้โอ๊คอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ทั้งตำแหน่งต่างๆ และมงกุฎก็ไม่ได้มอบอำนาจพิเศษใดๆ ให้เขา เขาเป็นเพียงกงสุลเท่านั้น และใน 13 ปีก่อนคริสตกาล ออกุสตุสได้เป็น พอนติเฟกซ์ แมกซิมุส ภายหลังการเสียชีวิตของมาร์คุส อีมิลิอุส เลพิดุส ออกุสตุสสะสมพลังอำนาจไว้มากโดยที่ไม่ได้อ้างสิทธิในตำแหน่งต่างๆ มากเกินไป

สล็อตออนไลน์

จากสาธารณรัฐสู่สมัยผู้นำ ออกัสตั มาร์ค แอนโทนีและคลีโอพัตรา พ่ายแพ้ในยุทธการแอคทิอุมและได้กระทำอัตวินิบาตฆาตกรรมทั้งคู่ ออคเตเวียนได้สำเร็จโทษซีซาเรียน ลูกชายของคลีโอพัตราและจูเลียส ซีซารด้วย การสังหารซีซาเรียนทำให้ออคเตเวียนไม่มีคู่แข่งทางการเมืองที่มีสายเลือดใกล้ชิดกับจูเลียส ซีซาร์แล้ว เขาจึงกลายเป็นผู้ปกครองคนเดียวของโรม ออคเตเวียนเริ่มการปฏิรูปทางทหาร เศรษฐกิจและการเมืองครั้งใหญ่ โดยมีเจตนาเพื่อทำให้อาณาจักรโรมันมั่นคงและสงบสุข และยังทำให้เกิดการยอมรับในรูปแบบการปกครองใหม่นี้ด้วย ในช่วงเวลาที่ออคเตเวียนปกครองโรมัน สภาซีเนตได้มอบชื่อออกุสตุสให้เขา พร้อมกับตำแหน่ง อิมเพอเรเตอร์ “จอมทัพ”ด้วย ซึ่งได้พัฒนาเป็น เอ็มเพอเรอร์’ “จักรพรรดิ” ในภายหลัง ออกุสตุสมักจะถูกเรียกว่า ซีซาร์ ซึ่งเป็นนามสกุลของเขา คำว่าซีซาร์นี้ถูกใช้เรียกจักรพรรดิในราชวงศ์จูลิโอ-คลอเดียน ราชวงศ์ฟลาเวียน จักรพรรดิเวสปาเซียน จักรพรรดิทิทุส และจักรพรรโดมิเชียนด้วย และยังเป็นรากศัพท์ของคำว่า ซาร์ (รัสเซีย:czar) และ ไกเซอร์ (เยอรมัน:kaiser) จักรวรรดิโรมันเคยมีดินแดนอยู่ในการครอบครองมากมาย ได้แก่ อังกฤษและเวลส์ ยุโรปส่วนใหญ่ (ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์และทางใต้ของเทือกเขาแอลป์) ชายฝั่งของแอฟริกาเหนือ บริเวณมณฑลใกล้เคียงของอียิปต์ แถบบอลข่าน ทะเลดำ เอเชียไมเนอร์ และส่วนใหญ่ของบริเวณลีแวนท์ ซึ่งดินแดนเหล่านี้ จากตะวันตกสู่ตะวันออกในปัจจุบันได้แก่ โปรตุเกส สเปน อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี แอลเบเนียและกรีซ แถบบอลข่าน ตุรกี ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกของเยอรมนี ทางภาคใต้จักรวรรดิโรมันได้รวบรวมตะวันออกกลางไว้ ซี่งในปัจจุบันก็ได้แก่ซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน จากนั้นในภาคตะวันตกเฉียงใต้ จักรวรรดิได้รวบรวมอียิปต์โบราณไว้ทั้งหมด และได้ทำการยึดครองต่อไปทางตะวันตกซึ่งเป็นบริเวณชายฝั่งทะเลซี่งในปัจจุบันคือประเทศลิเบีย ตูนิเซีย แอลจีเรียและโมร็อกโก จนถึงตะวันตกของยิบรอลตาร์ ประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจักรวรรดิโรมันเรียกว่าชาวโรมัน และดำเนินชีวิตภายใต้กฎหมายโรมัน การขยายอำนาจของโรมันได้เริ่มมานานตั้งแต่ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และเรืองอำนาจสูงสุดในสมัยจักรพรรดิทราจัน ด้วยชัยชนะเหนือดาเซีย (ปัจจุบันคือประเทศโรมาเนียและมอลโดวา และส่วนหนึ่งของประเทศฮังการี บัลแกเรียและยูเครน) ในปี ค.ศ. 106 และเมโสโปเตเมียในปี ค.ศ. 116 (ซึ่งภายหลังสูญเสียดินแดนนี้ไปในสมัยจักรพรรดิฮาเดรียน) ถึงจุดนี้ จักรวรรดิโรมันได้ครอบครองแผ่นดินประมาณ 5,900,000 ตร.กม. (2,300,000 ตร.ไมล์) และห้อมล้อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งชาวโรมันเรียกทะเลนี้ว่า mare nostrum “ทะเลของเรา” อิทธิพลของโรมันได้ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านภาษา ศาสนา สถาปัตยกรรม ปรัชญา กฎหมายและระบบการเมืองมาจนถึงทุกวันนี้

jumboslot

ความกำกวมในเทพปกรณัมของเฮสเตียตรงกับลักษณะประจำ บุคลิกและการบรรยายที่คลุมเครือของพระองค์ พระนางทรงถูกระบุด้วยเตาอิฐซึ่งเป็นวัตถุรูปธรรม และภาวะนามธรรมของชุมชนและกิจกรรมในบ้าน แต่ภาพของพระนางนั้นหายากและไม่ค่อยปลอดภัย ในศิลปะกรีกคลาสสิก บางครั้งมีผู้วาดพระนางเป็นสตรี มีผ้าคลุมศีรษะอย่างเรียบง่ายและถ่อมพระองค์ บางครั้งแสดงภาพพระนางมีไม้เท้าในพระหัตถ์หรือประทับอยู่ข้างกองไฟขนาดใหญ่วิหารพาร์เธนอน (กรีก: Παρθενών) คือวิหารโบราณบนเนินอะโครโพลิสในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ สร้างเพื่อเป็นศาสนสถานบูชาเทพีอาธีน่า หรือเทพีแห่งปัญญา ความรอบรู้ ในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมกรีกโบราณที่มีชื่อเสียงที่สุด แสดงให้เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของสถาปนิกในสมัยนั้นและถือได้ว่าเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก มีขนาดกว้าง 101.4 ฟุต หรือ 30.9 เมตร และ ยาว 228.0 ฟุต หรือ 69.5 เมตร คำว่า พาร์เธนอน นั้นน่าจะมาจากประติมากรรมที่เคยตั้งอยู่ภายในวิหาร คือ Athena Parthenos ซึ่งมีความหมายว่า เทพีอันบริสุทธิ์วิหารพาร์เธนอนสร้างตามการริเริ่มของเพริเคิล ผู้นำกรุงเอเธนส์ในสมัยนั้น และสร้างโดยมีประติมากรฟีเดียสเป็นผู้ควบคุมงาน การก่อสร้างเริ่มขึ้นเมื่อ 447 ปีก่อนคริสต์ศักราช ถึงแม้ว่าการก่อสร้างจะเสร็จสมบูรณ์เมื่อ 438 ปีก่อนคริสต์ศักราชแล้วก็ตาม แต่ก็ยังมีการตกแต่งเพิ่มเติมอีก 5 ปี บัญชีส่วนหนึ่งของการก่อสร้างครั้งนี้หลงเหลืออยู่ และแสดงให้เห็นว่างานที่มีค่าใช้จ่ายสูงสุด คือ การขนย้ายหินจากเขาเพนเทลิกัส ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงเอเธนส์ไปกว่า 16 กิโลเมตร

slot

เฮสเตีย

ในศาสนากรีกโบราณ เฮสเตีย (อังกฤษ: Hestia; กรีกโบราณ: Ἑστία, “เตาอิฐ” หรือ “บริเวณข้างเตาไฟ”) ทรงเป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์แห่งเตาอิฐ สถาปัตยกรรมกรีกโบราณ และการจัดระเบียบกิจกรรมในบ้าน ครอบครัวและรัฐที่ถูกต้อง ในเทพปกรณัมกรีก พระนางเป็นธิดาของโครนัสและเรีย เฮสเตียทรงได้รับของบูชาที่ทุกการบวงสรวงในครัวเรือน ในที่สาธารณะ เตาอิฐของพริทเนียม (prytaneum) เป็นเสมือนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อย่างเป็นทางการของพระนาง เมื่อมีการก่อตั้งอาณานิคมใหม่ เพลิงจากเตาอิฐสาธารณะของเฮสเตียในนครแม่จะถูกนำไปยังนิคมใหม่ด้วย พระนางประทับนั่งบนบัลลังก์ไม้เรียบ ๆ โดยมีเบาะขนแกะสีขาว และไม่ทรงเลือกสัญลักษณ์ประจำพระองค์ ภาคโรมันของพระนาง คือ เวสตา เฮสเตียทรงเป็นเทพเจ้าโอลิมปัสรุ่นแรก ร่วมกับดีมิเทอร์และฮีรา พระนางเป็นธิดาแห่งไททันโครนัสและเรีย พระเชษฐภคินีแห่งเฮดีส ดีมิเทอร์ โพไซดอน ฮีราและซูส โครนัสกลืนบุตรธิดาของตนทั้งหมดทันทีหลังคลอด ยกเว้นซูสบุตรคนสุดท้อง ต่อมาซูสบังคับให้โครนัสคายพี่น้องของพระองค์และทรงนำในสงครามกับบิดาและไททันอื่น เฮสเตียทรงเป็น “พระองค์แรกที่ถูกกลืนกิน และพระองค์สุดท้ายที่ถูกขับออกอีกครั้ง” พระองค์จึงเป็นทั้งธิดาพระองค์แรกและพระองค์สุดท้าย การผกผันตำนานนี้พบในเพลงสวดสรรเสริญแอโฟรไดทีของกวีโฮเมอร์ (700 ปีก่อน ค.ศ.) เฮสเตียทรงปฏิเสธการเกี้ยวพาราสีของโพไซดอนและอพอลโล และทรงสาบานพระองค์เป็นพรหมจรรย์ตลอดกาล ซูสทรงบัญชาให้เฮสเตียทำหน้าที่เลี้ยงและรักษาไฟในเตาไฟโอลิมปัสด้วยส่วนที่ติดมันและติดไฟได้ของสัตว์ที่บูชาแด่พระเจ้า

jumbo jili

สถานภาพเทพเจ้าโอลิมปัสของเฮสเตียนั้นกำกวม Kenneth Dorter บันทึกว่า ในเอเธนส์ ใน “ชีวิตของเพลโต” “มีข้อแตกต่างกันในรายพระนามพระเจ้าหลักสิบสองพระองค์ว่าจะรวมเฮสเตียหรือไดอะไนซัสเข้ากับอีกสิบเอ็ดพระองค์ที่เหลือ ตัวอย่างเช่น แท่นบูชาพระเจ้าที่อโกรา มีแท่นบูชาของเฮสเตีย แต่ที่แถบลายตกแต่งตะวันออกของวิหารพาร์เธนอนกลับมีแท่นบูชาของไดอะไนซัส” บางครั้งถือกันว่าการละเว้นเฮสเตียออกจากรายพระนามเทวสภาโอลิมปัสเป็นนิทัศน์ของธรรมชาติไม่โต้ตอบและไม่เผชิญหน้าของพระนาง โดยทรงยกบัลลังก์โอลิมปัสให้แก่ไดอะไนซัสเพื่อป้องกันความขัดแย้งบนสวรรค์ เฮสเตียเป็นที่รู้จักกันในความเมตตา แต่ไม่มีแหล่งข้อมูลหรือตำนานโบราณอธิบายการยอมจำนนหรือการถอนพระองค์นี Burkert ให้ข้อคิดเห็นว่า “เนื่องจากเตาอิฐไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เฮสเตียจึงไม่อาจมีส่วนแม้ในกระบวนการแห่งพระเจ้า โดยทรงปล่อยการเล่นตลกอื่นของเทพเจ้าโอลิมปัสไว้” สถานภาพทางเทพปกรณัมของพระองค์ที่เป็นธิดาหัวปีของเรียและโครนัสเหมือนจะอธิบายประเพณีที่ว่าของบูชาเล็กน้อยส่วนหนึ่งถวายแด่เฮสเตียก่อนการบูชาอื่นทั้งหมด (“เฮสเตียทรงมาก่อน”)

สล็อต

ความกำกวมในเทพปกรณัมของเฮสเตียตรงกับลักษณะประจำ บุคลิกและการบรรยายที่คลุมเครือของพระองค์ พระนางทรงถูกระบุด้วยเตาอิฐซึ่งเป็นวัตถุรูปธรรม และภาวะนามธรรมของชุมชนและกิจกรรมในบ้าน แต่ภาพของพระนางนั้นหายากและไม่ค่อยปลอดภัย ในศิลปะกรีกคลาสสิก บางครั้งมีผู้วาดพระนางเป็นสตรี มีผ้าคลุมศีรษะอย่างเรียบง่ายและถ่อมพระองค์ บางครั้งแสดงภาพพระนางมีไม้เท้าในพระหัตถ์หรือประทับอยู่ข้างกองไฟขนาดใหญ่วิหารพาร์เธนอน (กรีก: Παρθενών) คือวิหารโบราณบนเนินอะโครโพลิสในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ สร้างเพื่อเป็นศาสนสถานบูชาเทพีอาธีน่า หรือเทพีแห่งปัญญา ความรอบรู้ ในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมกรีกโบราณที่มีชื่อเสียงที่สุด แสดงให้เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของสถาปนิกในสมัยนั้นและถือได้ว่าเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก มีขนาดกว้าง 101.4 ฟุต หรือ 30.9 เมตร และ ยาว 228.0 ฟุต หรือ 69.5 เมตร คำว่า พาร์เธนอน นั้นน่าจะมาจากประติมากรรมที่เคยตั้งอยู่ภายในวิหาร คือ Athena Parthenos ซึ่งมีความหมายว่า เทพีอันบริสุทธิ์วิหารพาร์เธนอนสร้างตามการริเริ่มของเพริเคิล ผู้นำกรุงเอเธนส์ในสมัยนั้น และสร้างโดยมีประติมากรฟีเดียสเป็นผู้ควบคุมงาน การก่อสร้างเริ่มขึ้นเมื่อ 447 ปีก่อนคริสต์ศักราช ถึงแม้ว่าการก่อสร้างจะเสร็จสมบูรณ์เมื่อ 438 ปีก่อนคริสต์ศักราชแล้วก็ตาม แต่ก็ยังมีการตกแต่งเพิ่มเติมอีก 5 ปี บัญชีส่วนหนึ่งของการก่อสร้างครั้งนี้หลงเหลืออยู่ และแสดงให้เห็นว่างานที่มีค่าใช้จ่ายสูงสุด คือ การขนย้ายหินจากเขาเพนเทลิกัส ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงเอเธนส์ไปกว่า 16 กิโลเมตร

สล็อตออนไลน์

วิหารพาร์เธนอนมีขนาดกว้าง 30.9 เมตร ยาว 69.5 เมตร (101.4 × 228.0 ฟุต) เสาภายนอกแต่ละต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.9 เมตร (6.2 ฟุต) และสูง 10.4 เมตร (34.1 ฟุต) เสาที่หัวมุมของวิหารจะมีขนาดใหญ่กว่าเสาอื่น ๆ เล็กน้อย หลังคาปูด้วยหินอ่อนซ้อนกัน เมื่อนำขนาดของวิหารนี้มาคำนวณเป็นอัตราส่วน จะพบว่าหลาย ๆ แห่งเป็นอัตราส่วนทองคำ เสาด้านหน้าจะมี 8 ต้น และด้านข้างจะมี 17 ต้พาร์เธนอนยังคงเป็นวิหารมากว่าพันปีนับจากเสร็จสิ้นการก่อสร้าง ซึ่งถือว่ามีอายุเก่าแก่มาก หลังจากนั้นพาร์เธนอนจึงกลายเป็นโบสถ์คริสต์ ในปี ค.ศ. 1456 เอเธนส์ตกเป็นของจักรวรรดิออตโตมัน พาร์เธนอนจึงถูกเปลี่ยนเป็นสุเหร่า ในระหว่างนี้ มีการครอบครองอาณาจักรกันมากมาย วิหารพาร์เธนอนแห่งนี้จึงเปลี่ยนเป็นสถานที่ทางศาสนาและวัฒนธรรมต่างๆ ของอาณาจักรที่เป็นใหญ่ในขณะนั้น และมีการบูรณะรักษาสถานที่แห่งนี้อยู่หลายครั้ง ภายหลังจากนั้นในปี ค.ศ. 2004 มีการบูรณะวิหารพาร์เธนอนครั้งใหญ่เนื่องจากประเทศกรีซได้รับเลือกให้จัดการแข่งขันโอลิมปิกซึ่งแน่นอนว่าจะมีพิธีเปิดที่วิหารพาร์เธนอน

jumboslot

สาธารณรัฐสู่สมัยผู้นำ ออกัสตั มาร์ค แอนโทนีและคลีโอพัตรา พ่ายแพ้ในยุทธการแอคทิอุมและได้กระทำอัตวินิบาตฆาตกรรมทั้งคู่ ออคเตเวียนได้สำเร็จโทษซีซาเรียน ลูกชายของคลีโอพัตราและจูเลียส ซีซารด้วย การสังหารซีซาเรียนทำให้ออคเตเวียนไม่มีคู่แข่งทางการเมืองที่มีสายเลือดใกล้ชิดกับจูเลียส ซีซาร์แล้ว เขาจึงกลายเป็นผู้ปกครองคนเดียวของโรม ออคเตเวียนเริ่มการปฏิรูปทางทหาร เศรษฐกิจและการเมืองครั้งใหญ่ โดยมีเจตนาเพื่อทำให้อาณาจักรโรมันมั่นคงและสงบสุข และยังทำให้เกิดการยอมรับในรูปแบบการปกครองใหม่นี้ด้วย ในช่วงเวลาที่ออคเตเวียนปกครองโรมัน สภาซีเนตได้มอบชื่อออกุสตุสให้เขา พร้อมกับตำแหน่ง อิมเพอเรเตอร์ “จอมทัพ”ด้วย ซึ่งได้พัฒนาเป็น เอ็มเพอเรอร์’ “จักรพรรดิ” ในภายหลัง ออกุสตุสมักจะถูกเรียกว่า ซีซาร์ ซึ่งเป็นนามสกุลของเขา คำว่าซีซาร์นี้ถูกใช้เรียกจักรพรรดิในราชวงศ์จูลิโอ-คลอเดียน ราชวงศ์ฟลาเวียน จักรพรรดิเวสปาเซียน จักรพรรดิทิทุส และจักรพรรโดมิเชียนด้วย และยังเป็นรากศัพท์ของคำว่า ซาร์ (รัสเซีย:czar) และ ไกเซอร์ (เยอรมัน:kaiser) จักรวรรดิโรมันเคยมีดินแดนอยู่ในการครอบครองมากมาย ได้แก่ อังกฤษและเวลส์ ยุโรปส่วนใหญ่ (ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์และทางใต้ของเทือกเขาแอลป์) ชายฝั่งของแอฟริกาเหนือ บริเวณมณฑลใกล้เคียงของอียิปต์ แถบบอลข่าน ทะเลดำ เอเชียไมเนอร์ และส่วนใหญ่ของบริเวณลีแวนท์ ซึ่งดินแดนเหล่านี้ จากตะวันตกสู่ตะวันออกในปัจจุบันได้แก่ โปรตุเกส สเปน อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี แอลเบเนียและกรีซ แถบบอลข่าน ตุรกี ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกของเยอรมนี ทางภาคใต้จักรวรรดิโรมันได้รวบรวมตะวันออกกลางไว้ ซี่งในปัจจุบันก็ได้แก่ซีเรีย เลบานอน อิสราเอล จอร์แดน จากนั้นในภาคตะวันตกเฉียงใต้ จักรวรรดิได้รวบรวมอียิปต์โบราณไว้ทั้งหมด และได้ทำการยึดครองต่อไปทางตะวันตกซึ่งเป็นบริเวณชายฝั่งทะเลซี่งในปัจจุบันคือประเทศลิเบีย ตูนิเซีย แอลจีเรียและโมร็อกโก จนถึงตะวันตกของยิบรอลตาร์ ประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจักรวรรดิโรมันเรียกว่าชาวโรมัน และดำเนินชีวิตภายใต้กฎหมายโรมัน การขยายอำนาจของโรมันได้เริ่มมานานตั้งแต่ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และเรืองอำนาจสูงสุดในสมัยจักรพรรดิทราจัน ด้วยชัยชนะเหนือดาเซีย (ปัจจุบันคือประเทศโรมาเนียและมอลโดวา และส่วนหนึ่งของประเทศฮังการี บัลแกเรียและยูเครน) ในปี ค.ศ. 106 และเมโสโปเตเมียในปี ค.ศ. 116 (ซึ่งภายหลังสูญเสียดินแดนนี้ไปในสมัยจักรพรรดิฮาเดรียน) ถึงจุดนี้ จักรวรรดิโรมันได้ครอบครองแผ่นดินประมาณ 5,900,000 ตร.กม. (2,300,000 ตร.ไมล์) และห้อมล้อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งชาวโรมันเรียกทะเลนี้ว่า mare nostrum “ทะเลของเรา” อิทธิพลของโรมันได้ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านภาษา ศาสนา สถาปัตยกรรม ปรัชญา กฎหมายและระบบการเมืองมาจนถึงทุกวันนี้

slot