Category Archives: DOT

เพอร์เซฟะนี

ในเทพปกรณัมกรีก เพอร์เซโฟเน่ (อังกฤษ: Persephone /pərˈsɛfəniː/; กรีก: Περσεφόνη) หรือเรียก คอรี (อังกฤษ: Kore /ˈkɔəriː/; “หญิงโสด”) เป็นพระธิดาของซูส และเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ดีมิเทอร์ และราชินีแห่งโลกหลังความตาย โฮเมอร์อธิบายว่าพระองค์เป็นราชินีแห่งโลกหลังความตายผู้น่าเกรงขามและน่าเคารพนับถือ ผู้บันดาลให้คำสาปของมนุษย์บังเกิดผลต่อวิญญาณของผู้วายชนม์ เพอร์เซฟะนีถูกเฮดีส ราชาแห่งโลกบาดาล ลักพาตัว ตำนานการลักพาของพระองค์เป็นการแสดงว่าหน้าที่ของพระองค์เป็นบุคคลวัตของพืชพรรณซึ่งงอกในฤดูใบไม้ผลิและถอนคืนสู่พิภพหลังเก็บเกี่ยว ฉะนั้นพระองค์จึงยังสัมพันธ์กับฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณในศาสนาและตำนานกรีกโบราณ ดิมีเทอร์ (อังกฤษ: Demeter, /dɨˈmiːtɚ/; Gay) เป็นเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ผู้ดูแลธัญพืชและความอุดมสมบูรณ์ของปฐพี ชื่อลัทธิบูชาของพระนางรวมถึงซิโต (Σιτώ) “สตรีแห่งธัญพืช” ในฐานะผู้ประทานอาหารหรือธัญพืช และเธสมอฟอรอส (θεσμός “thesmos”: ระเบียบสวรรค์, กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร; “phoros”: ผู้ให้, ผู้ถือ) “ผู้ประทานกฎหมาย” โดยเป็นเครื่องหมายการดำรงอยู่ของสังคมเกษตรกรรมอารยะ[ยนทาง
แอรีส (อังกฤษ: Ares /ˈɛəriz/; กรีกโบราณ: Ἄρης [árɛːs] อาแรส) ทรงเป็นเทพแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งในสิบสองพระเจ้าโอลิมปัส และพระโอรสของซูสและฮีรา ในวรรณกรรมกรีก เป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับอะธีนา ผู้เป็นเทพเจ้าแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ

jumbo jili

ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส เนื่องจากเทพแอรีสเป็นสัญลักษณะของความพ่ายแพ้เช่นเดียวกับความสามารถในสงครามแม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม แต่เป็นพลังที่อันตราย “ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน” ความกลัว (โฟบอส) และความสยองขวัญ (ไดมอส) พระโอรส และความแตกสามัคคี (เอนีโอ) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึก ในอีเลียด ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นเทพที่ซูสเกลียดที่สุด สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร[6] คุณค่าของพระองค์ในฐานะเทพแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะในสงครามกรุงทรอย แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ (ไนกี) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะสงครามกรุงทรอย (อังกฤษ: Trojan War) เป็นสงครามระหว่างชาวอะคีอันส์ ​(กรีกโบราณ: Ἀχαιοί) (ชาวกรีก) กับชาวกรุงทรอย หลังปารีสแห่งทรอยชิงพระนางเฮเลนมาจากพระสวามี คือพระเจ้าเมเนเลอัสแห่งสปาร์ตา สงครามดังกล่าวเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุดในเทพปกรณัมกรีก และมีการบอกเล่าผ่านงานวรรณกรรมกรีกหลายชิ้น ที่โดดเด่นที่สุด คือ อีเลียดและโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ มหากาพย์อีเลียดเล่าเรื่องการล้อมกรุงทรอยปีสุดท้าย ส่วนโอดิสซีย์อธิบายการเดินทางกลับบ้านของโอดิสเซียส ส่วนอื่นของสงครามมีการอธิบายในโคลงวัฏมหากาพย์ (Epic Cycle) ได้แก่ ไซเพรีย, เอธิออพิส, อีเลียดน้อย, อีลิอูเพอร์ซิส, นอสตอย, และ เทเลโกนี ซึ่งปัจจุบันเหลือรอดมาเพียงบางส่วน ฯ การศึกแห่งกรุงทรอยเป็นแหล่งวัตถุดิบสำคัญที่ กวีและนักประพันธ์โศกนาฏกรรมกรีก เช่น เอสคิลัส (Aeschylus) โซโฟคลีส (Sophocles) และ ยูริพิดีส (Euripides) นำมาใช้ประพันธ์บทละคร นอกจากนี้กวีชาวโรมัน โดยเฉพาะเวอร์จิลและโอวิด ก็ดึงเอาเหตุการณ์จากสงครามทรอยมาเป็นพื้นเรื่อง หรือเนื้อหาส่วนหนึ่งในงานประพันธ์ของตนเช่นกัน

สล็อต

สงครามกำเนิดจากการวิวาทระหว่างเทพีอะธีนา เฮราและแอโฟรไดที หลังอีริส เทพีแห่งการวิวาทและความบาดหมาง ให้ผลแอปเปิลสีทอง ซึ่งบางครั้งรู้จักกันในนาม “แอปเปิลแห่งความบาดหมาง” แก่ “ผู้ที่งามที่สุด” ซูสส่งเทพีทั้งสามไปหาปารีส ผู้ตัดสินว่าแอโฟรไดที “ผู้งามที่สุด” ควรได้รับแอปเปิลไป เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน แอโฟรไดทีเสกให้เฮเลน หญิงงามที่สุดในโลกและมเหสีของพระเจ้าเมเนเลอัส ตกหลุมรักปารีส และปารีสได้นำพระนางไปยังกรุงทรอย อกาเมมนอน พระเจ้ากรุงไมซีนี และพระเชษฐาของพระเจ้าเมเนเลอัส พระสวามีของเฮเลน นำกองทัพชาวอะคีอันส์ไปยังกรุงทรอยและล้อมกรุงไว้สิบปี หลังสิ้นวีรบุรุษไปมากมาย รวมทั้งอคิลลีสและอาแจ็กซ์ของฝ่ายอะคีอันส์ และเฮกเตอร์และปารีสของฝ่ายทรอย กรุงทรอยก็เสียด้วยอุบายม้าโทรจัน ฝ่ายอะคีอันส์สังหารชาวกรุงทรอย (ยกเว้นหญิงและเด็กบางส่วนที่ไว้ชีวิตหรือขายเป็นทาส) และทำลายวิหาร ทำให้เทพเจ้าพิโรธ ชาวอะคีอันส์ส่วนน้อยที่กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัยและหลายคนตั้งนิคมในชายฝั่งอันห่างไกล ภายหลังชาวโรมันสืบเชื้อสายของพวกตนไปถึงเอเนียส หนึ่งในชาวกรุงทรอย ผู้กล่าวกันว่านำชาวกรุงทรอยที่เหลือรอดไปยังประเทศอิตาลีในปัจจุบัน

สล็อตออนไลน์

ชาวกรีกโบราณคาดว่าสงครามกรุงทรอยเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 หรือ 12 ก่อนคริสตกาล และเชื่อว่ากรุงทรอยตั้งอยู่ในประเทศตุรกีปัจจุบัน ใกล้กับช่องแคบดาร์ดาเนลส์ เมื่อล่วงมาถึงสมัยใหม่ คนส่วนใหญ่เชื่อว่าทั้งสงครามและกรุงทรอยเป็นนิทานปรำปราที่แต่งขึ้น อย่างไรก็ดี ในปี 1868 นักโบราณคดีชาวเยอรมัน ไฮน์ริช ชไลมันน์พบกับแฟรงก์ คัลเวิร์ท ผู้โน้มน้าวชไลมันน์ว่า กรุงทรอยเป็นสถานที่ที่มีอยู่จริง โดยตั้งอยู่ที่ฮิสซาร์ริคประเทศตุรกี และชไลมันน์เข้าควบคุมการขุดค้นของคัลเวิร์ทบนพื้นที่ซึ่งเป็นทรัพย์สินของคัลเวิร์ท คำถามที่ว่ามีความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์ใดอยู่เบื้องหลังสงครามกรุงทรอยหรือไม่นั้นยังไม่มีคำตอบ นักวิชาการจำนวนมากเชื่อว่านิยายดังกล่าวมีแก่นความจริงทางประวัติศาสตร์ แม้อาจหมายความว่า เรื่องเล่าของโฮเมอร์เป็นการผสมนิทการล้อมและการออกเดินทางต่าง ๆ ของชาวกรีกไมซีเนียนระหว่างยุคสัมฤทธิ์ก็ตาม ผู้ที่เชื่อว่าเรื่องเล่าสงครามกรุงทรอยมาจากความขัดแย้งในประวัติศาสตร์อย่างเฉพาะมักระบุเวลาไว้ว่าอยู่ในศตวรรษที่ 12 หรือ 11 ก่อนคริสตกาล ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกับหลักฐานทางโบราณคดีของการเผาทำลายทรอย 7เอ

jumboslot

ผลงานที่จัดเป็นกวีนิพนธ์เรียกว่า บทกวี ส่วนผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานดังกล่าว เรียกว่า กวี หรือ นักกวี บทกวี คือ ภาษาของอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด คือเครื่องมือที่จะนำสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นข่าวสารออกมาแสดงให้ประจักษ์ ตระหนัก ตระหนก สะทก สะท้อน กวีอาจไม่มีหน้าที่สรุปหรือฟันธงความจริง แต่กวีอาจหมุนแปรคำและความให้เห็นความจริงใหม่ ๆ ของชีวิตหลายด้าน ทั้งเรื่องที่บางทีคนทั่วไปคิดไม่ถึง และแม้แต่ตัวกวีเองก็เพิ่งจะคิดถึงองค์ประกอบของบทกวี มี 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ ความรู้สึก สารหรือเรื่องที่ต้องการถ่ายทอด บทกวีที่ดีออกมาจากความรู้สึกของผู้เขียน ความรู้สึกอาจเกิดขึ้นโดยกะทันหันหลังจากไปกระทบบางสิ่งบางอย่าง ก่อเกิดแรงบันดาลใจ อาจรู้สึก เปี่ยมสุข เปี่ยมความหมาย หรือรู้สึกนิ่งลึกดิ่งจมในเหวหุบแห่งความเศร้า ฯลฯรูปแบบที่กวีเลือกในการนำเสนอ ในช่วงที่การแต่งกลอนประเภทเคร่งฉันทลักษณ์และพราวสัมผัสถึงจุดอิ่มตัว บรรดากวีเริ่มแสวงหารูปแบบคำประพันธ์ใหม่ ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความจำเจ และสามารถสื่อ สาร ได้อย่างเสรี ไม่ติดในกรอบฉันทลักษณ์ จึงปรากฏรูปแบบกวีนิพนธ์ที่เรียกกันว่า กลอนเปล่า หรือ กวีนิพนธ์แบบไร้ฉันทลักษณ์ กวีนิพนธ์รูปแบบนี้ได้รับความนิยมมากขึ้น และเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมของไทยสูงสุด เมื่อหนังสือรวมบทกวี ไม่มีหญิงสาวในบทกวี ของ ซะการีย์ยา อมตยา ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์อิสระ ได้รับการคัดเลือกให้ชนะเลิศรางวัลซีไรต์ ในปี พ.ศ. 2553 กลอนเปล่า เป็นคำประพันธ์ที่พัฒนามาจากฟรีเวิร์ส (อังกฤษ: Blank Verse) ของตะวันตก เป็นกลอนในวรรณคดีอังกฤษที่ไม่มีการสัมผัสคำ แต่มีการเน้นเสียงในลักษณะ lambic Pentameter คือ 1 บาท แบ่งเป็น 5 จังหวะ จังหวะละ 2พยางค์ พยางค์แรกเสียงเบา (ลหุ) พยางค์หลังเสียงหนัก (ครุ) กลอนเปล่าได้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของกวีนิพนธ์ประเภทบรรยายโวหารยาว ๆ (soliloquy) รวมทั้งงานด้านปรัชญาและการละคร นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา กลอนเปล่าปรากฏอยู่ทั่วไปในงานประพันธ์บทละครของเชคสเปียร์ โดยมักเป็นบทพูดของตัวละครที่มีบทบาทสำคัญ หรือมีฐานันดรสูงกว่าคนปกติ บทกวีมหากาพย์ Paradise Lost ของจอห์น มิลตัน ใช้รูบแบบฉันทลักษณ์ของกลอนเปล่าประพันธ์ทั้งหมด

slot

คิวปิดและไซคี

คิวปิดและไซคี (อังกฤษ: Cupid and Psyche) เป็นเรื่องจากนวนิยายละติน Metamorphoses หรืออีกชื่อหนึ่งว่า The Golden Ass เขียนขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 2 โดย แอพยูเลียส เนื้อหาว่าด้วยการเอาชนะอุปสรรคต่อความรักระหว่างไซคี (กรีก: Ψυχή, “วิญญาณ” หรือ “ลมหายใจแห่งชีวิต”) และคิวปิด (ละติน: Cupido, “ความปรารถนา”) หรืออมอร์ (“ความรัก”, ตรงกับอีรอสของกรีก) และอยู่กินร่วมกันหลังสมรสในที่สุด แม้เรื่องเล่าโดยละเอียดของแอพยูเลียสจะเป็นชิ้นเดียวที่เหลือรอดจากยุคโบราณก็ตาม แต่อีรอสและไซคีปรากฏในศิลปะกรีกตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล องค์ประกอบทางลัทธิเพลได้ใหม่ของเนื้อเรื่องและการอ้างอิงถึงศาสนามิสเตอรีส์นำไปสู่การตีความอันหลากหลาย และถูกวิเคราะห์ว่าเป็นอุปมานิทัศน์ในรูปของนิทานพื้นบ้าน เทพนิยาย และตำนาน ตั้งแต่นวนิยายของแอพยูเลียสถูกค้นพบอีกครั้งในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เรื่องราวของคิวปิดและไซคี ถูกเล่าใหม่ในรูปแบบของกวีนิพนธ์ นาฏกรรม และอุปรากร และยังถูกแสดงในภาพวาด ประติมากรรม และแม้แต่กระดาษปิดฝาผนังกวีนิพนธ์ (อังกฤษ: poetry, poem, poesy) คือรูปแบบทางศิลปะที่มนุษย์ใช้ภาษา เพื่อคุณประโยชน์ด้านสุนทรียะ ซึ่งเพิ่มเติมจากเนื้อหาทางความหมาย นับเป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม โดยเป็นคำประพันธ์ที่กวีแต่ง เป็นงานเขียนที่มีวรรณศิลป์ เร้าให้สะเทือนอารมณ์ได้ คำที่มีความหมายทำนองเดียวกันได้แก่ ร้อยกรอง ซึ่งหมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ อีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกับ กวีนิพนธ์ และร้อยกรอง ได้แก่ บทกวี บทประพันธ์ คำประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานท์ กานท์ รวมทั้งคำว่า ฉันท์ กาพย์ และกลอน ซึ่งในปัจจุบันหมายถึงคำประพันธ์ที่มีรูปแบบต่างกัน ก็เคยใช้ในความหมายเดียวกันกับ กวีนิพนธ์ และ ร้อยกรอง มาในยุคสมัยหนึ่ง

jumbo jili

ผลงานที่จัดเป็นกวีนิพนธ์เรียกว่า บทกวี ส่วนผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานดังกล่าว เรียกว่า กวี หรือ นักกวี บทกวี คือ ภาษาของอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด คือเครื่องมือที่จะนำสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นข่าวสารออกมาแสดงให้ประจักษ์ ตระหนัก ตระหนก สะทก สะท้อน กวีอาจไม่มีหน้าที่สรุปหรือฟันธงความจริง แต่กวีอาจหมุนแปรคำและความให้เห็นความจริงใหม่ ๆ ของชีวิตหลายด้าน ทั้งเรื่องที่บางทีคนทั่วไปคิดไม่ถึง และแม้แต่ตัวกวีเองก็เพิ่งจะคิดถึงองค์ประกอบของบทกวี มี 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ ความรู้สึก สารหรือเรื่องที่ต้องการถ่ายทอด บทกวีที่ดีออกมาจากความรู้สึกของผู้เขียน ความรู้สึกอาจเกิดขึ้นโดยกะทันหันหลังจากไปกระทบบางสิ่งบางอย่าง ก่อเกิดแรงบันดาลใจ อาจรู้สึก เปี่ยมสุข เปี่ยมความหมาย หรือรู้สึกนิ่งลึกดิ่งจมในเหวหุบแห่งความเศร้า ฯลฯรูปแบบที่กวีเลือกในการนำเสนอ ในช่วงที่การแต่งกลอนประเภทเคร่งฉันทลักษณ์และพราวสัมผัสถึงจุดอิ่มตัว บรรดากวีเริ่มแสวงหารูปแบบคำประพันธ์ใหม่ ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความจำเจ และสามารถสื่อ สาร ได้อย่างเสรี ไม่ติดในกรอบฉันทลักษณ์ จึงปรากฏรูปแบบกวีนิพนธ์ที่เรียกกันว่า กลอนเปล่า หรือ กวีนิพนธ์แบบไร้ฉันทลักษณ์ กวีนิพนธ์รูปแบบนี้ได้รับความนิยมมากขึ้น และเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมของไทยสูงสุด เมื่อหนังสือรวมบทกวี ไม่มีหญิงสาวในบทกวี ของ ซะการีย์ยา อมตยา ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์อิสระ ได้รับการคัดเลือกให้ชนะเลิศรางวัลซีไรต์ ในปี พ.ศ. 2553 กลอนเปล่า เป็นคำประพันธ์ที่พัฒนามาจากฟรีเวิร์ส (อังกฤษ: Blank Verse) ของตะวันตก เป็นกลอนในวรรณคดีอังกฤษที่ไม่มีการสัมผัสคำ แต่มีการเน้นเสียงในลักษณะ lambic Pentameter คือ 1 บาท แบ่งเป็น 5 จังหวะ จังหวะละ 2พยางค์ พยางค์แรกเสียงเบา (ลหุ) พยางค์หลังเสียงหนัก (ครุ) กลอนเปล่าได้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของกวีนิพนธ์ประเภทบรรยายโวหารยาว ๆ (soliloquy) รวมทั้งงานด้านปรัชญาและการละคร นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา กลอนเปล่าปรากฏอยู่ทั่วไปในงานประพันธ์บทละครของเชคสเปียร์ โดยมักเป็นบทพูดของตัวละครที่มีบทบาทสำคัญ หรือมีฐานันดรสูงกว่าคนปกติ บทกวีมหากาพย์ Paradise Lost ของจอห์น มิลตัน ใช้รูบแบบฉันทลักษณ์ของกลอนเปล่าประพันธ์ทั้งหมด

สล็อต

กลอนเปล่าของไทย เริ่มนับตั้งแต่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงนำกลอนเปล่าเข้ามาใช้ในไทย โดยใช้เป็นบทสนทนาที่แปลมาจากบทละครของเช็คเสปียร์ ต่อมา จิตร ภูมิศักดิ์ เขียนบทร้อยกรองชื่อพิราบขาวในลักษณะของกลอนเปล่า แต่เป็นกลอนเปล่าที่เปลี่ยนแปลไปจากเดิมในความหมายจากตะวันตก ซึ่งทำให้มีผู้เรียกว่า กลอนปลือย กลอนเปล่าและกลอนเปลือยที่ไทยใช้ จึงหมายถึงงานเขียนที่ผู้แต่งมุ่งประหยัดและพิถีพิถันในการใช้คำและที่สำคัญ คือ ผู้เขียนพยายามจัดถ้อยคำเป็นวรรค หรือเป็นรูปใดรูปหนึ่งคล้ายร้อยกรอง เพียงแต่ไม่มีสัมผัสบังคับเท่านั้น วรรณรูป หรือกวีนิพนธ์รูปธรรม (อังกฤษ: Concrete Poetry) เป็นการผสมผสานทัศนศิลป์และวรรณศิลป์เข้าด้วยกัน กวีผู้โดดเด่นในเรื่องนี้ได้แก่ จ่าง แซ่ตั้ง ซึ่งใช้ความเป็นจิตรกรในการเขียนงานกวีนิพนธ์ งานวรรณรูปของเขามีทั้งแบบที่ใช้ถ้อยคำเรียงกันแบบกลอนเปล่า และแบบที่ใช้ถ้อยคำเรียงกันเป็นรูปภาพ งานวรรณรูปที่ปรากฏในปัจจุบันมิได้บ่งชัดว่าได้รับอิทธิพลจากชาติใด นับเป็นความริเริ่มของ จ่าง แซ่ตั้ง เลยทีเดียว แคนโต้ จัดเป็นบทกวีประเภทหนึ่ง มีลักษณะเป็นกลอนเปล่า 3 บรรทัด “แคนโต้” เป็นเพียงบทกวีที่ประกอบไปด้วยกลุ่มถ้อยคำสั้น ๆ แต่สิ่งที่น่าแปลกก็คือ เมื่อกลุ่มคำเหล่านี้ ถูกจัดเรียงเป็นสามบรรทัดแล้ว กลับเต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง เมื่อได้อ่านแคนโต้ของใครผู้ใดก็ตาม เป็นความยาวต่อเนื่องจำนวนมาก คุณจะกลายเป็นผู้ล่วงล้ำ เข้าไปรับรู้ถึงอารมณ์ และห้วงความคิดคำนึงของชีวิตใครผู้หนึ่ง ในลักษณะปะติดปะต่อ และในยามที่คุณเผชิญหน้ากับถ้อยคำสั้น ๆ เหล่านั้น คุณจะได้พบกับความหมายบางอย่าง ผ่านความอ่อนไหว จากชีวิตเล็ก ๆ บนโลกนี้

สล็อตออนไลน์

แคนโต้ เป็นบทกวีไทยร่วมสมัย เกิดขึ้นโดยคนไทย มีลักษณะเป็นลูกผสมระหว่างตะวันออกและตะวันตก รูปแบบคล้ายกวีไฮกุของญี่ปุ่น มีความแตกต่างกันเล็กน้อย ตรงที่ไฮกุจะเน้นไปทางการแสวงหาความหลุดพ้น แต่แคนโต้นั้นเดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย เมืองไบแซนทิอุม เมื่อถูกตั้งเป็นเมืองหลวงมีความสำคัญทางด้านการเมืองและได้เป็นศูนย์กลางการค้าของจักรวรรดิ ในเวลานั้นจักรวรรดิโรมันตะวันตกและจักรวรรดิโรมันตะวันออกยังมีจักรพรรดิองค์เดียวกันอยู่ การแบ่งจักรวรรดิเป็นสองส่วนนั้นเป็นเพียงแบ่งการปกครองเท่านั้น จนกระทั่งในปี ค.ศ. 395 จักรพรรดิเธโอดอซุสที่ 1 ทรงแบ่งแยกจักรวรรดิโรมันเป็น 2 ส่วน เพื่อให้พระโอรสทั้งสองพระองค์ คือ เจ้าชายอาร์คาดิอุส ได้ครองจักรวรรดิโรมันตะวันออกโดยมีกรุงคอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง ในขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกได้ถูกทำลายและล่มสลายไปในปี ค.ศ. 476 ซึ่งนำไปสู่ยุคมืดของยุโรป จักรวรรดิไบแซนไทน์ได้หันมารับภาษาและวัฒธรรมกรีก ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายในอนาโตเลีย ภาษาละตินของโรมันค่อย ๆ ถูกแทนที่ด้วยภาษากรีกและได้เป็นภาษาที่ยอมรับในจักรวรรดิไบแซนไทน์

jumboslot

ชาวกรีกโบราณคาดว่าสงครามกรุงทรอยเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 หรือ 12 ก่อนคริสตกาล และเชื่อว่ากรุงทรอยตั้งอยู่ในประเทศตุรกีปัจจุบัน ใกล้กับช่องแคบดาร์ดาเนลส์ เมื่อล่วงมาถึงสมัยใหม่ คนส่วนใหญ่เชื่อว่าทั้งสงครามและกรุงทรอยเป็นนิทานปรำปราที่แต่งขึ้น อย่างไรก็ดี ในปี 1868 นักโบราณคดีชาวเยอรมัน ไฮน์ริช ชไลมันน์พบกับแฟรงก์ คัลเวิร์ท ผู้โน้มน้าวชไลมันน์ว่า กรุงทรอยเป็นสถานที่ที่มีอยู่จริง โดยตั้งอยู่ที่ฮิสซาร์ริคประเทศตุรกี และชไลมันน์เข้าควบคุมการขุดค้นของคัลเวิร์ทบนพื้นที่ซึ่งเป็นทรัพย์สินของคัลเวิร์ท คำถามที่ว่ามีความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์ใดอยู่เบื้องหลังสงครามกรุงทรอยหรือไม่นั้นยังไม่มีคำตอบ นักวิชาการจำนวนมากเชื่อว่านิยายดังกล่าวมีแก่นความจริงทางประวัติศาสตร์ แม้อาจหมายความว่า เรื่องเล่าของโฮเมอร์เป็นการผสมนิทการล้อมและการออกเดินทางต่าง ๆ ของชาวกรีกไมซีเนียนระหว่างยุคสัมฤทธิ์ก็ตาม ผู้ที่เชื่อว่าเรื่องเล่าสงครามกรุงทรอยมาจากความขัดแย้งในประวัติศาสตร์อย่างเฉพาะมักระบุเวลาไว้ว่าอยู่ในศตวรรษที่ 12 หรือ 11 ก่อนคริสตกาล ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกับหลักฐานทางโบราณคดีของการเผาทำลายทรอย 7เอ

slot

แอโฟรไดที

แอโฟรไดที (อังกฤษ: Aphrodite, ออกเสียง: /ˌæfrəʊˈdaɪti/; กรีก: Ἀφροδίτη) เป็นพระเจ้าแห่งความรัก ความงาม สุขารมณ์และการให้กำเนิด ภาคโรมัน คือ วีนัส มีนิยายว่าด้วยกำเนิดของพระนางมากกว่าหนึ่งเรื่อง เฉกเช่นพระเจ้ากรีกโบราณหลายพระองค์ เทออกอเนียของฮีซิอัดระบุว่า พระองค์ประสูติเมื่อโครนัสตัดอวัยวะเพศของยูเรนัสแล้วโยนลงทะเล จากนั้นพระองค์กำเนิดขึ้นจากฟองสมุทร (aphros) ด้วยพระสิริโฉมงดงามของพระองค์ พระเจ้าองค์อื่นจึงเกรงว่าการชิงพระนางจะขัดขวางสันติภาพในหมู่พวกตนและนำไปสู่สงคราม ฉะนั้นซูสจึงเสกสมรสพระนางกับฮิฟีสตัส ซึ่งด้วยความอัปลักษณ์และผิดรูปของพระองค์ ไม่ถูกมองว่าเป็นภัยคุกคาม แอโฟรไดทีมีชู้รักมากมาย ทั้งพระเจ้า เช่น แอรีส และมนุษย์ เช่น แองไคซีส (Anchises) พระองค์มีบทบาทในตำนานเอียรอสและไซคี ภายหลังเป็นทั้งชู้รักของอโดนิส (Adonis) และผู้ทดแทนมารดาของพระองค์ กล่าวกันว่าเทพชั้นรองจำนวนมากเป็นโอรสธิดาของแอโฟรไดที แอโฟรไดทียังรู้จักกันในพระนามไคธีเรีย (นายหญิงแห่งไคธีรา) และไซปริส (นายหญิงแห่งไซปรัส) ซึ่งตั้งตามชื่อแหล่งลัทธิสองแห่ง ไคธีราและไซปรัส ซึ่งอ้างว่าเป็นที่ประสูติของพระนาง กล่าวกันว่าเมอร์เทิล (myrtle) นกพิราบ นกกระจอก ม้าและหงส์ศักดิ์สิทธิ์ต่อพระนาง ชาวกรีกโบราณระบุพระองค์แอโฟรไดทีกับเทพีแฮธอร์ของอียิปต์โบราณเทพีแอโฟรไดทีเป็นหนึ่งในเทพีที่เลื่องชื่อด้านความสัมพันธ์เชิงชู้สาว พระนางได้รับบัญชาจากซูสให้สมรสกับเทพฮิฟีสตัสผู้อัปลักษณ์และพิการ ความสัมพันธ์ระหว่างเทพทั้งสองไม่ได้ดำเนินไปอย่างราบรื่น เทพีแอโฟรไดทีทรงมีความสัมพันธ์กับเทพและมนุษย์เป็นจำนวนมาก หนึ่งในชู้รักของเทพีแอโฟรไดทีทีคือเทพแอรีส เทพแห่งสงครามผู้เป็นพระโอรสอีกองค์ของซูสและฮีรา เทพฮิฟีสตัสทรงดัดหลังทั้งคู่โดยวางกับดักตาข่ายไว้ที่เตียงนอน เมื่อถึงเวลาเช้าที่แอรีสจะหลบออกไปจากห้องบรรทมของแอโฟรไดที ทั้งเทพแอรีสและเทพีแอโฟรไดทีจึงรู้ตัวว่าติดกับดัก และต้องทนอับอายต่อการที่ถูกเทพทั้งมวลมองดูร่างเปลือยเปล่าของทั้งคู่อยู่เป็นเวลานานสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (ฝรั่งเศส: Renaissance; อิตาลี: Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ

jumbo jili

เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14หลังจากสงครามครูเสดอันยาวนานร่วม 300 ปีสิ้นสุดลง ยุโรปก็เข้าสู่สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยในช่วงแรกความรู้ทางศิลปะและวิทยาการของกรีกและโรมันได้ถูกนำเข้ามาผ่านเอกสารและหนังสือที่นักวิชาการมุสลิมในโลกอาหรับได้แปลไว้ เช่น ปรัชญาของอริสโตเติล และคณิตศาสตร์ของกรีก ต่อมาการล่มสลายของนครคอนสแตนติโนเปิล ศูนย์กลางแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ในช่วงกลางศตวรรษที่ 15 จากการรุกรานของสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน ทำให้บรรดาพระ และผู้มีวิชาความรู้ในเมืองหอบตำราสำคัญที่คัดลอกด้วยมือ (manuscripts) ต่างๆอันเป็นความรู้และสมบัติทางวัฒนธรรมที่ตกทอดมาจากอารยธรรมกรีก และโรมัน ออกมาเผยแพร่เพื่อต่อสังคมยุโรปในวงกว้าง และเนื่องจากในขณะนั้นเทคโนโลยีการพิมพ์ และการพิมพ์แบบตัวเรียง (moveable types) เพิ่งได้รับการประดิษฐ์ขึ้นโดยกูเทนเบิร์กในยุโรป ความรู้ศิลปวิทยาการในสมัยคลาสสิคจึงแพร่กระจายไปได้เร็วมาก ทำให้ยุโรปได้นำศิลปวิทยาการที่ได้รับการเผยแพร่ใหม่เหล่านี้ มาสอนในมหาวิทยาลัย ตลอดจนนำมาปรับปรุง ดัดแปลงใหม่ ทำให้ยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าในศาสตร์ทุก ๆ ด้าน อาทิเช่น ศิลปศาสตร์ ศิลปินและผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น เลโอนาร์โด ดา วินชี ผู้วาดรูปโมนาลิซา มีเกลันเจโล ผู้ปั้นรูปปั้นเดวิด ซึ่งเชื่อว่าเป็นชายที่มีสัดส่วนสมบูรณ์ที่สุดในโลก ราฟาเอลผู้กำกับการสร้างและตกแต่งมหาวิหารนักบุญเปโตร เป็นต้น เทคโนโลยี เทคโนโลยีที่สำคัญคือ เทคโนโลยีการต่อเรือ โดยชาติที่เป็นผู้ริเริ่มคือ โปรตุเกสและสเปน ซึ่งทำให้การติดต่อค้าขายกับเอเชียสะดวกขึ้น วิทยาศาสตร์ แนวคิดที่สำคัญ ได้แก่ การเล่นแร่แปรธาตุ โดยพาราเซลซัส, แนวคิดระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง โดยนิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส และความรู้ด้านการแพทย์ โดยแอนเดรียส เวซาเลียส และ วิลเลียม ฮาร์วีย์ ศิลปะเรอแนซ็องส์ (พ.ศ. 1940 – 2140) คำว่า “เรอแนซ็องส์” หมายถึง การเกิดใหม่ ซึ่งเป็นการระลึกถึงศิลปะกรีกและโรมันในอดีต ซึ่งเคยรุ่งเรืองให้กลับมาอีก ศิลปะเรอแนซ็องส์ไม่ใช่การลอกเลียนแบบจากอดีต แต่เป็นยุคสมัยแห่งการเน้นความสำคัญของลักษณะเฉพาะบุคคล มีความสนใจลักษณะภายนอกของมนุษย์ และ ธรรมชาติ เป็นแบบที่มีเหตุผลทางศีลธรรม ก่อให้เกิดความกระตือรือร้นในการค้นหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ และวิทยาการแขนงต่าง ๆ ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็น “สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา” โดยมีรากฐานมาจากประเทศอิตาลี และแผ่ขยายไปยังดินแดนต่าง ๆ ในยุโรป ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา คริสตจักรยังคงเป็นผู้อุปถัมภ์ที่สำคัญของเหล่าศิลปินนอกจากนี้ยังมีพวกขุนนาง พ่อค้าผู้ร่ำรวย ซึ่งเป็นชนชั้นสูงก็ได้ว่าจ้าง และอุปถัมภ์เหล่าศิลปินต่าง ๆ ด้วย ตระกูลที่มีชื่อเสียงเหล่านั้น ได้แก่ ตระกูลวิสคอนตี และสฟอร์ซา ในนครมิลาน ตระกูลกอนซากาในเมืองมานตูอา และตระกูลเมดีชีในนครฟลอเรนซ์ การอุปถัมภ์ศิลปินนี้มีผลในการกระตุ้นให้ศิลปินใฝ่หาชื่อเสียง และความสำเร็จมาสู่ชีวิตมากขึ้น ผลงานของศิลปินที่มีทั้ง จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ทำให้ชื่อเสียงของศิลปินหลายคน เป็นที่รู้จักทั่วโลกตลอดกาล เช่น ลีโอนาร์โด ดา วินชี มีเกลันเจโล ราฟาเอล สถานภาพทางสังคมของศิลปินเป็นที่ยอมรับกันอย่างสูงในวงสังคม เกิดสำนักศิลปะเพื่อฝึกฝนช่างฝีมือ และเกิดมีศิลปินระดับอัจฉริยะขึ้นมาอย่างมากมาย และในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยานี้เอง ที่มีการพัฒนาการพิมพ์ขึ้นในประเทศเยอรมนีโดย โยฮันน์ กูเทนแบร์ก เป็นผู้ผลิตนวัตกรรมชิ้นนี้ขึ้นมา ราวพุทธศตวรรษที่ 20 ทำให้ศิลปะการพิมพ์ได้เริ่มมีการสร้างสรรค์ขึ้นอย่างจริงจัง นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาและจนถึงปัจจุบั

สล็อต

จากประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ได้แสดงให้เห็นว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์คือจักรวรรดิของชาวกรีก เมื่อคำนึงถึงอิทธิพลของภาษากรีก วัฒนธรรมกรีกและประชากรเชื้อสายกรีก แต่ประชาชนของจักรวรรดิเองนั้น มองจักรวรรดิของตนว่าเป็นเพียงจักรวรรดิโรมันที่มีจักรพรรดิโรมันสืบทอดตำแหน่งอย่างต่อเนื่องกันเท่านั้น การเริ่มต้นของจักรวรรดิไบแซนไทน์นั้นไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด โดยส่วนใหญ่ถือว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์เริ่มต้นขึ้นเมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 (ครองราชย์ ค.ศ. 306-337) แห่งโรมได้สถาปนานครคอนสแตนติโนเปิลให้เป็น “โรมใหม่” ในปี พ.ศ. 873 (ค.ศ. 330) และย้ายเมืองหลวงจากโรมมาเป็นคอนสแตนติโนเปิลแทน ดังนั้น จึงถือว่าจักรพรรดิคอนสแตนตินเป็นจักรพรรดิองค์แรกของจักรวรรดิไบแซนไทน์ไปโดยปริยาย แต่ก็มีบางส่วนถือว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์เริ่มต้นขึ้นในสมัยของธีโอโดเซียสมหาราช (ครองราชย์ ค.ศ. 379-395) ซึ่งคริสต์ศาสนาได้เข้ามาแทนที่ลัทธิเพเกินบูชาเทพเจ้าโรมันในฐานะศาสนาประจำชาติ หรือหลังจากธีโอโดเซียสสวรรคตใน ค.ศ. 395 เมื่อจักรวรรดิโรมันได้แบ่งขั้วการปกครองเป็นฝั่งตะวันออกและตะวันตกอย่างเด็ดขาด ทั้งยังมีบ้างส่วนที่ถือว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์เริ่มต้นขึ้น “อย่างแท้จริง” เมื่อจักรพรรดิโรมูลูส ออกุสตูลูส ซึ่งถือว่าเป็นจักรพรรดิโรมันตะวันตกองค์สุดท้ายถูกปราบดาภิเษก ซึ่งทำให้อำนาจในการปกครองจักรวรรดิตกอยู่ที่ชาวกรีกในฝั่งตะวันออกแต่เพียงฝ่ายเดียว และยังมีอีกบางส่วนที่ถือว่าจักรวรรดิโรมันได้แปลงสภาพเป็นจักรวรรดิไบแซนไทน์โดยสมบูรณ์ เมื่อจักรพรรดิเฮราคลิอุสเปลี่ยนแปลงชื่อตำแหน่งในราชการ จากเดิมที่เป็นภาษาละติน ให้กลายเป็นภาษากรีกแทน

สล็อตออนไลน์

อย่างไรก็ดี การเปลี่ยนแปลงสถานะของจักรวรรดินั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง แม้ในช่วงก่อนที่จักรพรรดิคอนสแตนตินจะสถาปนานครคอนสแตนติโนเปิลให้เป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมันใน ค.ศ. 330 ก็ตาม ในตอนนั้นก็ได้มีการแปลงสภาพวัฒนธรรมจากโรมันเป็นกรีก รวมถึงการเปิดรับคริสต์ศาสนาที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องไปแล้ว
การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยทั่วไปแล้ว เชื่อว่าเกิดขึ้นหลังจากที่กรุงคอนสแตนติโนเปิลถูกยึดโดยสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันในปี ค.ศ. 1453 โดยกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นอิสตันบูลมาจนถึงปัจจุบัน และในทางประวัติศาสตร์ยังได้ถือว่าการสิ้นสุดของจักรวรรดิไบแซนไทน์เป็นจุดสิ้นสุดยุคกลางในยุโรปอีกด้วย ในปี ค.ศ. 324 จักรพรรดิคอนสแตนตินได้สถาปนาตนเป็นจักรพรรดิโรมัน ในปี ค.ศ. 330 พระองค์ทรงย้ายเมืองหลวงของจักรวรรดิโรมันไปยังเมืองไบแซนทิอุม จากนั้นทรงได้เปลี่ยนชื่อเมืองเป็นโนวาโรม หรือกรุงโรมใหม่ หลังพระองค์สวรรคตในปี ค.ศ. 337 กรุงโรมใหม่ ก็ได้เปลี่ยนเป็น คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople) เพื่อเป็นการถวายเกียรติแด่พระองค์

jumboslot

รูปเคารพของเทพีเรียมักอยู่คู่กับสิงโตอยู่เสมอ พระนางเป็นมารดาของเทพโอลิมเปียทั้ง 6 องค์จาก 12 องค์ตามตำนานกรีกกล่าวว่าเรียเป็นธิดาของเทพีไกอาและเทพยูเรนัส เป็นหนึ่งในเหล่าเทพไททันที่ถูกเทพยูเรนัสผู้เป็นบิดาโยนลงไปในทาทะรัสพร้อมกับเหล่าอสุรกาย และได้กลับขึ้นมาบนพื้นพิภพอีกครั้งเมื่อโครนัส ไททันองค์สุดท้องอาสาปราบยูเรนัสและยึดอำนาจของยูเรนัสมาเป็นของเหล่าไททัน ส่วนในตำนานของชาวเพลาสกันได้กล่าวว่ายูริโนมี เทพีองค์แรกได้ถือกำเนิดขึ้นและสร้างเหล่าไททันขึ้น เรียเป็นหนึ่งในไททัน มีหน้าที่ดูแลดาวเสาร์ร่วมกับโครนัสผู้ป็นสามี เรียและโครนัส ภายหลังจากการกอบกู้เหล่าไททันของโครนอส โครนัสก็ได้แต่งตั้งให้เรียเป็นชายา และเป็นราชินีของเทพทั้งปวง แต่เนื่องจากหลังจากโครนัสได้กำจัดยูเรนัสลงแล้ว ไม่ได้ช่วยเหลือเหล่าอสุรกายผู้เป็นบุตรของไกอาดังที่สัญญากับไกอาไว้ ไกอาจึงสาปให้บุตรของโครนอสที่เกิดจากเรียช่วงชิงบัลลังก์ของโครนอส เช่นเดียวกับที่โครนอสได้ช่วงชิงบัลลังก์จากยูเรนัส บุตรของเรีย เนื่องจากคำสาปของไกอา โครนอสจึงหวาดระแวงอยู่ตลอดเวลาและเมื่อเรียคลอดบุตรออกมา โครนอสก็กลืนเทพที่ถือกำเนิดขึ้นมานั้นลงไปทั้งตัว เรียได้แต่เคียดแค้น จนเมื่อบุตรองค์สุดท้องของเรียถือกำเนิดขึ้น นางก็ได้นำเทพองค์นั้น หรือซุส ไปซ่อนไว้ที่ภูเขาไอดา โดยฝากให้ไกอาเป็นผู้ดูแล และฝึกฝนซุสให้กลับไปแก้แค้นโครนัสผู้เป็นบิดา และช่วยเหลือเหล่าเทพโอลิมเปียนบุตรของนางออกมาจากท้องของโครนอสในศาสนากรีกโบราณ เฮสเตีย (อังกฤษ: Hestia; กรีกโบราณ: Ἑστία, “เตาอิฐ” หรือ “บริเวณข้างเตาไฟ”) ทรงเป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์แห่งเตาอิฐ สถาปัตยกรรมกรีกโบราณ และการจัดระเบียบกิจกรรมในบ้าน ครอบครัวและรัฐที่ถูกต้อง ในเทพปกรณัมกรีก พระนางเป็นธิดาของโครนัสและเรีย

slot

เรีย หรือ เรอา

เรีย หรือ เรอา (อังกฤษ: Rhea, เสียงอ่านภาษาอังกฤษ: /rɪə, ˈriːə/) เป็นเทพีไททัน ซึ่งเป็นธิดาของเทพยูเรนัสกับเทพีไกอา พระนางแต่งงานกับโครนัส เทพไททันผู้เป็นพี่ชาย และได้รับการขนานนามว่า “เทพมารดา” รูปเคารพของเทพีเรียมักอยู่คู่กับสิงโตอยู่เสมอ พระนางเป็นมารดาของเทพโอลิมเปียทั้ง 6 องค์จาก 12 องค์ตามตำนานกรีกกล่าวว่าเรียเป็นธิดาของเทพีไกอาและเทพยูเรนัส เป็นหนึ่งในเหล่าเทพไททันที่ถูกเทพยูเรนัสผู้เป็นบิดาโยนลงไปในทาทะรัสพร้อมกับเหล่าอสุรกาย และได้กลับขึ้นมาบนพื้นพิภพอีกครั้งเมื่อโครนัส ไททันองค์สุดท้องอาสาปราบยูเรนัสและยึดอำนาจของยูเรนัสมาเป็นของเหล่าไททัน ส่วนในตำนานของชาวเพลาสกันได้กล่าวว่ายูริโนมี เทพีองค์แรกได้ถือกำเนิดขึ้นและสร้างเหล่าไททันขึ้น เรียเป็นหนึ่งในไททัน มีหน้าที่ดูแลดาวเสาร์ร่วมกับโครนัสผู้ป็นสามี เรียและโครนัส ภายหลังจากการกอบกู้เหล่าไททันของโครนอส โครนัสก็ได้แต่งตั้งให้เรียเป็นชายา และเป็นราชินีของเทพทั้งปวง แต่เนื่องจากหลังจากโครนัสได้กำจัดยูเรนัสลงแล้ว ไม่ได้ช่วยเหลือเหล่าอสุรกายผู้เป็นบุตรของไกอาดังที่สัญญากับไกอาไว้ ไกอาจึงสาปให้บุตรของโครนอสที่เกิดจากเรียช่วงชิงบัลลังก์ของโครนอส เช่นเดียวกับที่โครนอสได้ช่วงชิงบัลลังก์จากยูเรนัส บุตรของเรีย เนื่องจากคำสาปของไกอา โครนอสจึงหวาดระแวงอยู่ตลอดเวลาและเมื่อเรียคลอดบุตรออกมา โครนอสก็กลืนเทพที่ถือกำเนิดขึ้นมานั้นลงไปทั้งตัว เรียได้แต่เคียดแค้น จนเมื่อบุตรองค์สุดท้องของเรียถือกำเนิดขึ้น นางก็ได้นำเทพองค์นั้น หรือซุส ไปซ่อนไว้ที่ภูเขาไอดา โดยฝากให้ไกอาเป็นผู้ดูแล และฝึกฝนซุสให้กลับไปแก้แค้นโครนัสผู้เป็นบิดา และช่วยเหลือเหล่าเทพโอลิมเปียนบุตรของนางออกมาจากท้องของโครนอสในศาสนากรีกโบราณ เฮสเตีย (อังกฤษ: Hestia; กรีกโบราณ: Ἑστία, “เตาอิฐ” หรือ “บริเวณข้างเตาไฟ”) ทรงเป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์แห่งเตาอิฐ สถาปัตยกรรมกรีกโบราณ และการจัดระเบียบกิจกรรมในบ้าน ครอบครัวและรัฐที่ถูกต้อง ในเทพปกรณัมกรีก พระนางเป็นธิดาของโครนัสและเรีย

jumbo jili

เฮสเตียทรงได้รับของบูชาที่ทุกการบวงสรวงในครัวเรือน ในที่สาธารณะ เตาอิฐของพริทเนียม (prytaneum) เป็นเสมือนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อย่างเป็นทางการของพระนาง เมื่อมีการก่อตั้งอาณานิคมใหม่ เพลิงจากเตาอิฐสาธารณะของเฮสเตียในนครแม่จะถูกนำไปยังนิคมใหม่ด้วย พระนางประทับนั่งบนบัลลังก์ไม้เรียบ ๆ โดยมีเบาะขนแกะสีขาว และไม่ทรงเลือกสัญลักษณ์ประจำพระองค์ ภาคโรมันของพระนาง คือ เวสตา เฮสเตียทรงเป็นเทพเจ้าโอลิมปัสรุ่นแรก ร่วมกับดีมิเทอร์และฮีรา พระนางเป็นธิดาแห่งไททันโครนัสและเรีย พระเชษฐภคินีแห่งเฮดีส ดีมิเทอร์ โพไซดอน ฮีราและซูส โครนัสกลืนบุตรธิดาของตนทั้งหมดทันทีหลังคลอด ยกเว้นซูสบุตรคนสุดท้อง ต่อมาซูสบังคับให้โครนัสคายพี่น้องของพระองค์และทรงนำในสงครามกับบิดาและไททันอื่น เฮสเตียทรงเป็น “พระองค์แรกที่ถูกกลืนกิ และพระองค์สุดท้ายที่ถูกขับออกอีกครั้ง” พระองค์จึงเป็นทั้งธิดาพระองค์แรกและพระองค์สุดท้าย การผกผันตำนานนี้พบในเพลงสวดสรรเสริญแอโฟรไดทีของกวีโฮเมอร์ (700 ปีก่อน ค.ศ.) เฮสเตียทรงปฏิเสธการเกี้ยวพาราสีของโพไซดอนและอพอลโล และทรงสาบานพระองค์เป็นพรหมจรรย์ตลอดกาล ซูสทรงบัญชาให้เฮสเตียทำหน้าที่เลี้ยงและรักษาไฟในเตาไฟโอลิมปัสด้วยส่วนที่ติดมันและติดไฟได้ของสัตว์ที่บูชาแด่พระเจ้า สถานภาพเทพเจ้าโอลิมปัสของเฮสเตียนั้นกำกวม Kenneth Dorter บันทึกว่า ในเอเธนส์ ใน “ชีวิตของเพลโต” “มีข้อแตกต่างกันในรายพระนามพระเจ้าหลักสิบสองพระองค์ว่าจะรวมเฮสเตียหรือไดอะไนซัสเข้ากับอีกสิบเอ็ดพระองค์ที่เหลือ ตัวอย่างเช่น แท่นบูชาพระเจ้าที่อโกรา มีแท่นบูชาของเฮสเตีย แต่ที่แถบลายตกแต่งตะวันออกของวิหารพาร์เธนอนกลับมีแท่นบูชาของไดอะไนซัส” บางครั้งถือกันว่าการละเว้นเฮสเตียออกจากรายพระนามเทวสภาโอลิมปัสเป็นนิทัศน์ของธรรมชาติไม่โต้ตอบและไม่เผชิญหน้าของพระนาง โดยทรงยกบัลลังก์โอลิมปัสให้แก่ไดอะไนซัสเพื่อป้องกันความขัดแย้งบนสวรรค์ เฮสเตียเป็นที่รู้จักกันในความเมตตา แต่ไม่มีแหล่งข้อมูลหรือตำนานโบราณอธิบายการยอมจำนนหรือการถอนพระองค์นี้ Burkert ให้ข้อคิดเห็นว่า “เนื่องจากเตาอิฐไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เฮสเตียจึงไม่อาจมีส่วนแม้ในกระบวนการแห่งพระเจ้า โดยทรงปล่อยการเล่นตลกอื่นของเทพเจ้าโอลิมปัสไว้” สถานภาพทางเทพปกรณัมของพระองค์ที่เป็นธิดาหัวปีของเรียและโครนัสเหมือนจะอธิบายประเพณีที่ว่าของบูชาเล็กน้อยส่วนหนึ่งถวายแด่เฮสเตียก่อนการบูชาอื่นทั้งหมด (“เฮสเตียทรงมาก่อน”)

สล็อต

ความกำกวมในเทพปกรณัมของเฮสเตียตรงกับลักษณะประจำ บุคลิกและการบรรยายที่คลุมเครือของพระองค์ พระนางทรงถูกระบุด้วยเตาอิฐซึ่งเป็นวัตถุรูปธรรม และภาวะนามธรรมของชุมชนและกิจกรรมในบ้าน แต่ภาพของพระนางนั้นหายากและไม่ค่อยปลอดภัย ในศิลปะกรีกคลาสสิก บางครั้งมีผู้วาดพระนางเป็นสตรี มีผ้าคลุมศีรษะอย่างเรียบง่ายและถ่อมพระองค์ บางครั้งแสดงภาพพระนางมีไม้เท้าในพระหัตถ์หรือประทับอยู่ข้างกองไฟขนาดใหญ่ เมื่อสาธารณรัฐโรมันขยายตัวมาจนถึงจุดที่รัฐบาลกลางในกรุงโรมไม่สามารถปกครองดินแดนที่อยู่ไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะปัญหาในด้านการติดต่อและการคมนาคมเพราะระยะทางที่ไกลจากจุดหมายต่าง ๆ ภายในจักรวรรดิ ข่าวสารการรุกราน, การปฏิวัติ, ความหายนะทางธรรมชาติ หรือโรคระบาดใช้การสื่อสารทางเรือหรือโดยระบบการสื่อสารโรมัน (Cursus publicus) ที่ใช้เวลานานกว่าจะมาถึงกรุงโรม หรือคำสั่งจากโรมไปยังดินแดนต่าง ๆ ฉะนั้นข้าหลวงโรมัน (Roman Governor) ในจังหวัดอาณานิคมก็มักจะปกครองในนามของสาธารณรัฐโรมันโดยปริยาย ก่อนหน้าที่จะตั้งตัวเป็นจักรวรรดิ ดินแดนของสาธารณรัฐโรมันเป็นการปกครองของระบบสามประมุขครั้งที่สอง (Second Triumvirate) ที่แบ่งระหว่างอ็อคเตเวียน, มาร์ค แอนโทนี และมาร์กุส ไอมิลิอุส แลปิดุส มาร์ค แอนโทนีครอบครองจังหวัดทางตะวันออก: จังหวัดอาเคีย (Achaea), จังหวัดมาเซโดเนีย และ บริเวณเอพิรัส (ทางตอนเหนือของกรีซ), บิธิเนีย (Bithynia), พอนทัส (Pontus) และจังหวัดในเอเชียของโรมัน (ตุรกีปัจจุบัน), ซีเรีย, ไซปรัส, และไซเรนาอิคา (Cyrenaica) ดินแดนเหล่านี้เดิมพิชิตมาโดยอเล็กซานเดอร์มหาราช ฉะนั้นผู้ครอบครองบริเวณนั้นจึงมีเชื้อสายกรีก บริเวณทั้งหมดโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ๆ รับวัฒนธรรมกรีกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมท้องถิ่น ภาษาที่ใช้จึงเป็นภาษาทางราชการ

สล็อตออนไลน์

สาธารณรัฐโรมัน ก่อนการพิชิตของอ็อคเตเวีย อ็อคเตเวียนได้จังหวัดทางตะวันตก: จังหวัดโรมันอิตาเลีย (อิตาลีปัจจุบัน), กอล (ฝรั่งเศสปัจจุบัน), กาลเลียเบลจิคา (ส่วนหนึ่งของเบลเยียม, เนเธอร์แลนด์ และ ลักเซมเบิร์กปัจจุบัน) และ ฮิลปาเนีย (สเปนและโปรตุเกสปัจจุบัน) และรวมทั้งอาณานิคมกรีกและคาร์เธจในบริเวณริมฝั่งทะเล แลปิดุสได้รับดินแดนในอาฟริกาประมาณทางตอนเหนือของตูนิเซีย แต่อ็อคเตเวียนยึดอาฟริกาจากแลปิดุส และเพิ่มอาณานิคมซิลิคา (ซิซิลีปัจจุบัน) เข้ามาอยู่ในอำนาจการปกครอง เมื่อได้รับชัยชนะต่อมาร์ค แอนโทนีแล้ว อ็อคเตเวียนก็รวมดินแดนต่าง ๆ ก่อตั้งเป็นจักรวรรดิโรมัน แม้ว่าจักรวรรดิโรมันจะมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองหลายอย่างแต่กระนั้นก็ยังประสบกับกระบวนการการเป็นโรมัน (Romanization) ทางตะวันออกเป็นวัฒนธรรมกรีกที่มีอิทธิพล และทางตะวันตกวัฒนธรรมละตินซึ่งทั้งสองวัฒนธรรมก็อยู่คู่กันอย่างมีประสิทธิภาพในรูปของการปกครองอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งทางการเมืองและทางการทหาร จักรวรรดิไบแซนไทน์ (อังกฤษ: Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (กรีก: Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรวรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า “จักรวรรดิไบแซนไทน์” และ “จักรวรรดิโรมันตะวันออก” เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า “จักรวรรดิโรมัน” หรือ “โรมาเนีย” เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน ค.ศ. 1453 ในสมัยที่ยังมีจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่นั้น จักรวรรดิเป็นชาติที่มีเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและกำลังทหารแข็งแกร่งที่สุดในยุโรป

jumboslot

รูปเคารพของเทพีเรียมักอยู่คู่กับสิงโตอยู่เสมอ พระนางเป็นมารดาของเทพโอลิมเปียทั้ง 6 องค์จาก 12 องค์ตามตำนานกรีกกล่าวว่าเรียเป็นธิดาของเทพีไกอาและเทพยูเรนัส เป็นหนึ่งในเหล่าเทพไททันที่ถูกเทพยูเรนัสผู้เป็นบิดาโยนลงไปในทาทะรัสพร้อมกับเหล่าอสุรกาย และได้กลับขึ้นมาบนพื้นพิภพอีกครั้งเมื่อโครนัส ไททันองค์สุดท้องอาสาปราบยูเรนัสและยึดอำนาจของยูเรนัสมาเป็นของเหล่าไททัน ส่วนในตำนานของชาวเพลาสกันได้กล่าวว่ายูริโนมี เทพีองค์แรกได้ถือกำเนิดขึ้นและสร้างเหล่าไททันขึ้น เรียเป็นหนึ่งในไททัน มีหน้าที่ดูแลดาวเสาร์ร่วมกับโครนัสผู้ป็นสามี เรียและโครนัส ภายหลังจากการกอบกู้เหล่าไททันของโครนอส โครนัสก็ได้แต่งตั้งให้เรียเป็นชายา และเป็นราชินีของเทพทั้งปวง แต่เนื่องจากหลังจากโครนัสได้กำจัดยูเรนัสลงแล้ว ไม่ได้ช่วยเหลือเหล่าอสุรกายผู้เป็นบุตรของไกอาดังที่สัญญากับไกอาไว้ ไกอาจึงสาปให้บุตรของโครนอสที่เกิดจากเรียช่วงชิงบัลลังก์ของโครนอส เช่นเดียวกับที่โครนอสได้ช่วงชิงบัลลังก์จากยูเรนัส บุตรของเรีย เนื่องจากคำสาปของไกอา โครนอสจึงหวาดระแวงอยู่ตลอดเวลาและเมื่อเรียคลอดบุตรออกมา โครนอสก็กลืนเทพที่ถือกำเนิดขึ้นมานั้นลงไปทั้งตัว เรียได้แต่เคียดแค้น จนเมื่อบุตรองค์สุดท้องของเรียถือกำเนิดขึ้น นางก็ได้นำเทพองค์นั้น หรือซุส ไปซ่อนไว้ที่ภูเขาไอดา โดยฝากให้ไกอาเป็นผู้ดูแล และฝึกฝนซุสให้กลับไปแก้แค้นโครนัสผู้เป็นบิดา และช่วยเหลือเหล่าเทพโอลิมเปียนบุตรของนางออกมาจากท้องของโครนอสในศาสนากรีกโบราณ เฮสเตีย (อังกฤษ: Hestia; กรีกโบราณ: Ἑστία, “เตาอิฐ” หรือ “บริเวณข้างเตาไฟ”) ทรงเป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์แห่งเตาอิฐ สถาปัตยกรรมกรีกโบราณ และการจัดระเบียบกิจกรรมในบ้าน ครอบครัวและรัฐที่ถูกต้อง ในเทพปกรณัมกรีก พระนางเป็นธิดาของโครนัสและเรีย

slot

โครนัส หรือ โครนอส

โครนัส หรือ โครนอส (อังกฤษ: Cronus หรือ Kronus, /kroʊnəs/; ภาษากรีกโบราณ: Κρόνος, Krónos) เป็นผู้นำเหล่ายักษ์ไททัน (Titan) รุ่นแรกที่มีอายุน้อยที่สุด ซึ่งเป็นทายาทของเทพีไกอา (Gaia) พระแม่ธรณี และเทพบิดายูเรนัส (Uranus) เทพแห่งท้องฟ้า เทพโครนัสได้โค่นบัลลังก์ของพระบิดา (เทพยูเรนัส) และขึ้นครองบัลลังก์ในช่วงยุคทอง จนกระทั่งถูกโค่นบัลลังก์โดยพระโอรสของตน คือ เทพซูส (Zeus) เทพโครนัสมิได้ถูกจองจำในยมโลกทาร์ทารัส (Tartarus) เหมือนเช่นไททันตนอื่น ๆ แต่เขากลับหลบหนีไปได ด้วยเหตุที่ว่าเทพโครนัสมีความเกี่ยวเนื่องกับยุคทองของเขาจึงได้รับการสักการะในฐานะเทพแห่งฤดูเก็บเกี่ยว ซึ่งรวมไปถึงการเก็บเกี่ยวพืชผลเช่น ข้าว ธรรมชาติ ผลผลิตทางการเกษตร และการเดินไปข้างหน้าของกาลเวลาที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ภาพของเทพโครนัสมักถือเคียวไว้ในมือ ซึ่งพระองค์ใช้ในการเก็บเกี่ยวพืชผล และเป็นอาวุธที่พระองค์ใช้โค่นบัลลังก์เทพยูเรนัส ในกรุงเอเธนส์ (Athens) วันที่ 12 ของทุกๆ เดือน ถูกเรียกว่าวันฮีคาทอมบาเอียน (Hekatombaion) ซึ่งจะมีงานเทศกาลชื่อว่า เทศกาลโครเนีย (Kronia) จะจัดขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เทพโครนัสสำหรับฤดูเก็บเกี่ยว พระนามของเทพโครนัสในตำนานเทพปกรณัมโรมันคือ เทพแซเทิร์น (Saturn)ในเทพปกรณัมคลาสสิก เบื้องล่างของยูเรนัส ไกอาและพอนตัส ทาร์ทารัส หรือ ทาร์ทารอส (กรีกโบราณ: Τάρταρος แปลว่า “สถานที่ลึก”) เป็นหลุมลึกหรือห้วงอเวจีที่ลึกและมืดหม่นไม่มีที่สิ้นสุด ถูกใช้เป็นสถานที่คุกมืดสำหรับทรมานและทำให้ได้รับความเจ็บปวดแก่โครนอสซึ่งอยู่ใต้โลกบาดาลเป็นที่ที่ซุสใช้เคียวของโครนอสสับโครนอสผู้เป็นบิดาเป็นพันชิ้นแล้วโปรยลงไปในนรกทาร์ทารัสตามตำนานกรีก ในกอร์จิอัส ผลงานของเพลโต (ประมาณ 400 ปีก่อนคริสตกาล) ได้เขียนไว้ว่า

jumbo jili

เช่นเดียวกับสิ่งดั้งเดิมอื่น ๆ (เช่น โลกและเวลา) ทาร์ทารัสเองก็เป็นอำนาจหรือเทพที่มีมาแต่ดั้งเดิมด้วยเช่นกันเพลโต (ในภาษากรีก: Πλάτων Plátōn, อังกฤษ: Plato) (427 – 347 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีส เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์ เพลโตใช้เวลาส่วนใหญ่สอนอยู่ที่อาคาเดมี แต่เขาก็ได้เขียนเกี่ยวกับปัญหาทางปรัชญาไว้เป็นจำนวนมาก โลกปัจจุบันรู้จักเขาผ่านทางงานเขียนที่หลงเหลืออยู่ ที่ถูกนำขึ้นมาแปลและจัดพิมพ์เป็นในช่วงการเคลื่อนไหวด้านมนุษยนิยม งานเขียนของเพลโตนั้นส่วนมากแล้วเป็นบทสนทนา คำคม และจดหมาย ผลงานที่เป็นที่รู้จักของเพลโตนั้นหลงเหลืออยู่ทั้งหมด อย่างไรก็ตามชุดรวมงานแปลปัจจุบันของเพลโตมักมีบางบทสนทนาที่นักวิชาการจัดว่าน่าสงสัย หรือคิดว่ายังขาดหลักฐานที่จะยอมรับว่าเป็นของแท้ได้ ในบทสนทนาของเพลโลนั้น บ่อยครั้งที่มีโสกราตีสเป็นตัวละครหลัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนว่าความเห็นส่วนใดเป็นของโสกราตีส และส่วนใดเป็นของเพลโตในงานเขียนของเพลโต เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับรูปแบบของการปกครองทั้งแบบเจ้าขุนมูลนาย และแบบประชาธิปไตย เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับผลของสิ่งแวดล้อมกับผลของพันธุกรรม ต่อสติปัญญาและอุปนิสัยของมนุษย์ ซึ่งการโต้เถียงนี้เกิดขึ้นมานานก่อนการโต้เถียงเรื่อง “ธรรมชาติหรือการเลี้ยงดู” ที่มีขึ้นในช่วงเวลาของฮอบบส์ และล็อก และยังมีผลต่อเนื่องมาถึงงานเขียนที่ก่อให้เกิดการโต้แย้งเช่นหนังสือ The Mismeasure of Man และ The Bell Curve เรายังจะพบข้อคิดเห็นที่สนับสนุนอัตวิสัยและปรวิสัยของความรู้ของมนุษย์ ที่มีผลมาถึงการโต้เถียงสมัยใหม่ระหว่างฮูม และคานท์ หรือระหว่างนักหลังสมัยใหม่นิยมและผู้ที่ไม่เห็นด้วย กระทั่งเรื่องราวของเมืองหรือทวีปที่สาบสูญเช่นแอตแลนติส ก็ยังถูกยกมาเป็นตัวอย่างในงานของเพลโต เช่น Timaeus หรือ Critias

สล็อต

รูปแบบ เพลโตเขียนงานแทบทั้งหมดในรูปของบทสนทนา ในงานชิ้นแรก ๆ ตัวละครสนทนาโดยการถามคำถามกันไปมา อย่างมีชีวิตชีวา ตัวละครที่โดดเด่นคือโสกราตีสที่ใช้รูปแบบของวิภาษวิธีที่ยังไม่ถูกจัดเป็นระบบ กลุ่มของผลงานนี้รวมเรียกว่าบทสนทนาโสกราตีส แต่คุณภาพของบทสนทนาได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากตลอดช่วงชีวิตของเพลโต เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่างานชิ้นแรก ๆ ของเพลโตนั้น วางรากฐานอยู่บนความคิดของโสกราตีส ในขณะที่ในงานเขียนชิ้นถัด ๆ มา เขาได้ค่อย ๆ ฉีกตัวเองออกจากแนวคิดของอาจารย์ของเขา ในงานชิ้นกลาง ๆ โสกราตีสได้กลายเป็นผู้พูดของปรัชญาของเพลโต และรูปแบบของการถาม-ตอบ ได้เปลี่ยนเป็นแบบ “เหมือนท่องจำ” มากขึ้น: ตัวละครหลักนั้นเป็นตัวแทนของเพลโต ในขณะที่ตัวละครรอง ๆ ไป แทบไม่มีอะไรจะกล่าวนอกจาก “ใช่” “แน่นอน” และ “จริงอย่างยิ่ง” งานชิ้นหลัง ๆ แทบจะมีลักษณะเหมือนเรียงความ และโสกราตีสมักไม่ปรากฏหรือเงียบไป เป็นที่คาดการณ์กันว่างานชิ้นหลัง ๆ นั้นเขียนโดยเพลโตเอง ส่วนงานชิ้นแรก ๆ นั้นเป็นบันทึกของบทสนทนาของโสกราตีสเอง ปัญหาว่าบทสนทนาใดเป็นบทสนทนาของโสกราตีสอย่างแท้จริง เรียกว่าปัญหาโสกราตีส ลักษณะการสร้างฉากที่มองเห็นได้ของบทสนทนา สร้างระยะห่างระหว่างเพลโตและผู้อ่าน กับปรัชญาที่กำลังถูกถกเถียงในนั้น ผู้อ่านสามารถเลือกรูปแบบการรับรู้ได้อย่างน้อยสองแบบ: อาจจะเข้าไปมีส่วนร่วมในบทสนทนาเกี่ยวกับแนวคิดที่กำลังพูดคุยกันอยู่, หรือเลือกที่จะมองเนื้อหาว่าเป็นการแสดงออกถึงอุปนิสัยที่อยู่ในผลงานนั้น ๆ รูปแบบการสนทนาทำให้เพลโตสามารถถ่ายทอดความเห็นที่ไม่เป็นที่นิยมผ่านทางตัวละครที่พูดจาไม่น่าคล้อยตาม เช่น Thrasymachus ใน สาธารณรัฐ

สล็อตออนไลน์

อภิปรัชญาของเพลโต: ลัทธิเพลโต หรือ สัจนิยม ผลงานที่เป็นที่จดจำที่สุด หรืออาจเป็นผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเพลโต ก็คืออภิปรัชญาแบบทวิภาค ที่มักเรียกกันว่า (ในอภิปรัชญา) ลัทธิเพลโต หรือ (ถ้าเรียกให้เกินจริง) สัจนิยม อภิปรัชญาของเพลโตได้แบ่งโลกออกเป็นสองมุม คือ โลกของรูปแบบ (form) และโลกที่รับรู้ได้ เขามองว่าโลกที่รับรู้ได้ รวมถึงสิ่งของต่าง ๆ ในนั้น คือ สำเนาที่ไม่สมบูรณ์แบบจาก รูปแบบ ที่คิดคำนึงได้ หรือ แนวความคิด โดยที่รูปแบบเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง และอยู่ในสภาวะสมบูรณ์แบบเสมอ การทำความเข้าใจกับรูปแบบเหล่านี้จะต้องใช้สติปัญญา หรือความเข้าใจเท่านั้น อย่างไรก็ตามแนวคิดของการแบ่งแยกนี้ได้มีการค้นพบมาก่อนหน้าเพลโนในปรัชญาของโซโรแอสเตอร์ โดยเรียกว่าโลกมินู (ปัญญา) และ โลกกีติ (สัมผัส) รวมถึงแนวคิดเกี่ยวกับรัฐอุดมคติ ที่โซโรแอสเตอร์เรียกว่า ชาห์ริวาร์ (เมืองอุดมคติ)

jumboslot

เมื่อถึงปี ค.ศ.476 ตำแหน่งของจักรพรรดิโรมันตะวันตกมีอำนาจทางทหาร การเมืองและ อำนาจทางการเงินเพียงน้อยนิด ปราศจากอำนาจควบคุมจังหวัดทางตะวันตกที่กระจัดกระจายซึ่งเดิมเป็นเขตแดนของโรมัน อาณาจักรของอนารยชนได้สร้างฐานอำนาจของตนเองขึ้นในพื้นที่ของจักรวรรดิตะวันตก ในปี ค.ศ.476 พระเจ้าโอเดเซอร์ กษัตริย์องค์แรกแห่งอิตาลี ได้ปลดจักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก จักรพรรดิโรมุลุส เอากุสตุส ลงจากราชบังลังก์ และวุฒิสภาของจักรวรรดิโรมันตะวันตกได้ส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้กับจักรพรรดิโรมันตะวันออก ทำให้เหลือเมืองหลวงเพียงแห่งเดียว ณ กรุงคอนสแตนติโนเปิล สิ้นสุดความเป็นศูนย์กลางของกรุงโรมนับแต่นั้น แม้ว่าเกียรติภูมิของจักรวรรดิโรมันตะวันตก จะดำเนินต่อไปอีกหลายศตวรรษ และอิทธิพลทางวัฒนธรรมของจักรวรรดิยังคงอยู่ในทุกวันนี้ จักรวรรดิตะวันตกไม่เคยมีความเข้มแข็งที่เคยมีอีกเลย จักรวรรดิไม่สามารถควบคุมยุโรปตะวันตก ทางเหนือของเทือกเขาแอลป์ จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือ จักรวรรดิไบแซนไทน์ คงอยู่ต่อมาได้ แม้ว่าความแข็งแกร่งของจักรวรรดิโรมันจะลดลงจากเดิม จักรวรรดิโรมันตะวันออกจะยังคงอยู่เป็นเวลาอีกหลายศตวรรษ เป็นมหาอำนาจของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก

slot

จุ้ยบ้วยเนี้ย

จุ้ยบ้วยเนี้ย (จีน: 水尾聖娘; พินอิน: Shuǐ wěi shèng niáng) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีน จุ้ยบ้วยเนี้ย หรือแปลตรงตัวได้ว่า เจ้าแม่ท้ายน้ำ หรือที่ชาวไทยรู้จักกันในนาม เจ้าแม่ทับทิม เป็นเทวนารี ที่รู้จักและนิยมบูชาเช่นเดียวกับม่าจ้อโป๋ หรือไฮตังม่า เป็นเทพเจ้าที่ได้รับความเคารพในหมู่ของชาวฮกเกี้ยน และ ชาวไหหลำ และชาวจีนโพ้นทะเล ที่ประกอบอาชีพเป็นชาวประมงที่เดินเรือ โดยส่วนใหญ่ชาวไทยมักเข้าใจผิดว่าจุ้ยบ้วยเนี้ยกับม่าจ้อโป๋เป็นองค์เดียวกัน จึงนิยมเรียกรวมกันว่า “เจ้าแม่ทับทิม” ซึ่งแท้ที่จริงแล้วตามความเชื่อของจีนเป็นคนละองค์กัน โดยศาลเจ้าของจุ้ยบ้วยเนี้ย เฉพาะในประเทศไทยมีกันหลายแห่ง ที่โด่งดังมีชื่อเสียง ได้แก่ ศาลเจ้าจุ้ยโบเนี้ยว เชิงสะพานซังฮี้ , เป็นศาลเจ้าแม่ทับทิมที่มีความเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย โดยสร้างแม่ทับทิมท่าฉลอม ท่าฉลอม เป็นต้น ขณะที่ศาลเจ้าแม่ทับทิม เชิงสะพานพระปกเกล้า ย่านพาหุรัด, ศาลเจ้าแม่ทับทิม สะพานเหลือง สามย่าน เป็นศาลของม่าจ้อโป๋ หรือเทียนโหวเซี้ยบ้อ ซึ่งเป็นเทพคนละองค์กับจุ้ยบ้วยเนี้ย มีศัพท์เพียง 2 คำที่ได้บัญญัติความหมายใช้เรียกชาวจีนโพ้นทะเลอย่างเป็นทางการ ได้แก่ หัวเฉียว huáqiáo (华侨 / 華僑) หมายถึงชาวจีนโพ้นทะเลที่เกิดในประเทศจีน ในขณะที่ หัวอี้ huáyì (华裔 / 華裔) ใช้เรียกลูกหลานของบรรพบุรุษชาวจีนที่เกิดในประเทศต่าง ๆ อาจไม่สามารถใช้คำจำกัดความของชาวจีนโพ้นทะเลข้างต้นมาอธิบายได้ เนื่องจากชาวจีนใน 2 ประเภทนี้ มีวัฒนธรรมและสังคมที่ใกล้เคียงกันอย่างยิ่งกับประเทศจีน เพียงแค่ที่อยู่ทางภูมิศาสตร์ที่ห่างไกลเท่านั้น แต่มุมมองนี้ถูกทำให้น่าเชื่อถือน้อยลง จากผลสำรวจที่ว่าชาวจีนใน 2 ประเภทนี้ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชาติที่ตนอยู่มากกว่าประเทศจีน

jumbo jili

ประวัติ ชาวจีนมีประวัติการอพยพไปยังดินแดนต่าง ๆ มานานแล้ว ประวัติศาสตร์สมัยแรกของชาวจีนโพ้นทะเลปรากฏอยู่ในสมัยราชวงศ์หมิง นายพลเจิ้งเหอ นักเดินเรือผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์จีน ได้ส่งคนนับพันไปสำรวจทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งส่วนมากเป็นชาวกวางตุ้ง และฮกเกี้ยน ผู้คนที่ส่งออกไปสำรวจทะเลนั้น จำนวนมากที่อยู่ถาวร ณ ที่ต่าง ๆ และมิได้กลับมายังประเทศจีนอีกเลย ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นยุคล่าอาณานิคม ในขณะเดียวกัน ยุคการกระจายตัวของชาวจีนโพ้นทะเลจึงเริ่มขึ้น ในขณะนั้นเป็นสมัยของราชวงศ์ชิง อาณานิคมจำนวนมากขาดแคลนแรงงาน ในขณะที่จังหวัดฮกเกี้ยน และกวางตุ้ง มีแรงงานเกินความต้องการ รัฐบาลของรางวงศ์ชิงจึงถูกเจ้าอาณานิคมทั้งหลายบีบบังคับให้นำประชากรจีนไปเป็นแรงงานในดินแดนอาณานิคมของตน ชาวฮกเกี้ยน และชาวกวางตุ้งจำนวนมาก เลือกที่จะไปทำงานในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องด้วยความสัมพันธ์ของชาวจีนและดินแดนนี้มีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์หมิง ส่วนประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและออสเตรเลีย ต้องการแรงงานจำนวนมากในงานที่อันตราย เช่น งานในเหมืองแร่ และการสร้างทางรถไฟ เนื่องจากปัญหาความอดอยากในกวางตุ้ง ทำให้ชาวกวางตุ้งจำนวนมากออกไปเสี่ยงโชคในดินแดนเหล่านี้ และหวังที่จะทำให้ความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ยังอยู่ในประเทศจีนดีขึ้นด้วย หลังจากที่ได้สร้างทางรถไฟเสร็จแล้ว ชาวจีนโพ้นทะเลจำนวนมากในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกาประสบปัญหาการเหยียดเชื้อชาติ และถูกกีดกันไม่ให้เข้าประเทศ

สล็อต

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ได้เกิดสงครามกลางเมืองระหว่างฝ่ายสาธารณรัฐและพรรคคอมมิวนิสต์ ทำให้ชาวจีนบอบช้ำไปมาก ชาวจีนส่วนหนึ่งได้อพยพออกนอกประเทศก่อนที่พรรคคอมมิวนิสต์จะขึ้นปกครองประเทศ โดยเฉพาะชาวจีนผู้มีการศึกษา พวกเขาไม่ยอมกลับสู่ประเทศบ้านเกิดเมืองนอนอีกเลย ส่วนชาวจีนในฮ่องกงและนิวทอริทอรี่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร เลือกที่จะไปใช้ชีวิตในอังกฤษ และ ฮอลแลนด์เพื่อชีวิตที่ดีกว่า ในยุค 1980 สหราชอาณาจักรให้คำสัญญาว่าจะส่งฮ่องกงคืนให้กับสาธารณรัฐประชาชนจีน สิ่งนี้ทำให้เกิดกระแสอพยพของชาวจีนเข้าสู่ อังกฤษ ออสเตรเลีย แคนาดา สหรัฐอเมริกา และดินแดนอื่น ๆ นอกจากนี้ การสังหารหมู่ผู้เรียกร้องประชาธิปไตย ณ จัตุรัสเทียนอันเหมินใน พ.ศ. 2532 ยังเพิ่มอัตราการอพยพอีกด้วย ชาวจีนโพ้นทะเลส่วนมาก ประมาณ 34 ล้านคน อาศัยอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และกลายเป็นประชากรส่วนใหญ่ของสิงคโปร์ และยังเป็นประชากรที่มีสัดส่วนสูงใน ประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ชาวจีนอพยพเข้ามาในดินแดนดังกล่าวในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 19 และส่วนมาก มาจากมณฑล กวางตุ้ง ฮกเกี้ยน และไหหลำ ตามลำดับ การอพยพครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการอพยพครั้งใหญ่ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 10 สู่ดินแดนมะละกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สล็อตออนไลน์

ทิศทางการอพยพส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มักมุ่งไปที่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และออสเตรเลีย ขงจื๊อเป็นคนรักดนตรีอย่างยิ่ง จนได้รับเกียรติว่าเป็นปรมาจารย์แห่งดนตรี เมื่อเขาเดินทางไปอาศัยรัฐฉี (齐国) ขงจื๊อได้ศึกษาดนตรีของนครฉี จนลืมรสอาหารถึง 3 เดือน ดังที่ขงจื๊อกล่าวว่า “ข้าพเจ้าไม่เคยสดับเสียงดนตรีที่ไพเราะเสนาะโสตอย่างนี้เลย” ตลอดชีวิตของท่านได้อาศัยกวีนิพนธ์และดนตรีเป็นเพื่อนคู่ทุกข์คู่ยากก็ว่าได้ ขงจื๊อได้วิจารณ์ดนตรีสมัยพระเจ้าซุ่นว่า ทั้งไพเราะทั้งดีงาม ทั้งนี้ก็เพราะมีเนื้อและทำนองนุ่มนวลสงบเย็น ผิดกับดนตรีสมัยพระเจ้าโจวอู่อ๋อง(周武王)ซึ่งก็ไพเราะ แต่ขาดความดีงาม เพราะเนื้อและทำนองรวดเร็ว รุนแรงแบบรบพุ่งปราบปราม วิชาดนตรีและกวีนิพนธ์จึงเป็นหลักสูตรสำคัญยิ่งที่นักศึกษาทุกคนจะต้องเรียนในมหาวิทยาลัยขงจื๊อ การศึกษาวิชาการต่าง ๆ ผู้ศึกษาจะต้องศึกษาให้เข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง ไม่ใช่ศึกษาว่าตาม ๆ กันโดยไม่คิดนึกตรึกตรองให้เห็นอย่างถ่องแท้ ถ้าศึกษาแบบนี้ก็ไม่มีประโยชน์ ในทำนองเดียวกัน การคิดเอาเองโดยไม่เรียนก็ไม่ดีเช่นกัน ดังที่ขงจื๊อกล่าวว่า “การศึกษาโดยปราศจากความคิดก็ไร้ประโยชน์ ทำนองเดียวกัน ความคิดที่ปราศจากการศึกษาก็เป็นอันตราย” ขงจื๊อให้ความสำคัญต่อการศึกษามาก คนที่ได้รับการศึกษาแล้วไม่ได้รับประโยชน์นั้นไม่มี เพราะฉะนั้นทุกคนควรศึกษาเล่าเรียนไม่ว่าจะอยู่ในวัยไหน แต่ปฐมวัยดูจะเหมาะกว่า ดังมีเรื่องเล่าว่า ครั้งหนึ่งขงจื๊อถูกถามว่า “การศึกษาดีสำหรับคนทุกคนหรือไม่” ก็ได้รับคำตอบว่า “คนที่ศึกษาได้ 3 ปี แล้วไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยจากการศึกษานั้นหายากเหลือเกิน” ขงจื๊อถูกถามอีกว่า “การศึกษาดีทุกเวลาทุกวัยหรือไม่” ก็ได้รับคำตอบว่า “การศึกษาดีทุกเวลาและทุกวัย แต่ถ้าได้รับการศึกษาเมื่อยังหนุ่มย่อมดีกว่า” ขงจื๊อมีความเชื่อว่า ทุกคนมีอัธยาศัยคล้ายกันโดยธรรมชาติคืออยากเป็นคนดี ไม่อยากเป็นคนชั่ว แต่ที่ต้องถลำตัวเป็นคนชั่วก็เพราะ 2 สาเหตุ คือ 1. ไม่ได้รับการศึกษาอบรม จึงทำให้ไม่รู้ว่าอะไรดีอะไรชั่ว 2. ความจำเป็นบังคับ เช่น ความอดอยากยากจน หากรัฐสามารถแก้เหตุทั้ง 2 อย่างนี้ได้ก็จะไม่มีคนชั่วอีกต่อไป ขงจื๊อได้พิสูจน์ถึงทฤษฎีนี้แล้ว ได้ผลสมความมุ่งหมาย เรื่องมีอยู่ว่า สมัยที่ขงจื๊อกำลังมีชีวตรุ่งโรจน์ในทางการเมืองในแคว้นหลู่ โดยเป็นรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม ขงจื๊อได้ใช้อำนาจหน้าที่ออกระเบียบแก้ไขนักโทษล้นคุก ดังต่อไปนี้ ประการแรก ขงจื๊อได้ทำการศึกษาประวัตินักโทษแต่ละคนตลอดถึงครอบครัวของเขา ประการถัดมา ขงจื๊อได้เชิญนักกฎหมายและผู้พิพากษามาพบ ขงจื๊อได้กล่าวแก่นักกฎหมายและผู้พิพากษาว่า ตนได้ศึกษาประวัตินักโทษแต่ละคนแล้ว พบว่านักโทษเกือบทั้งหมดเป็นคนเขลา เพราะไม่ได้รับการศึกษาอบรม และเป็นคนยากจนหรือเป็นลูกของคนเขลาและยากจน คนรวยมักจะได้รับการศึกษา จึงมีความสามารถที่จะประกอบอาชีพเลี้ยงชีวิตได้ เมื่อคนรวยทำอาชญากรรมก็อาจหลบเลี่ยงโทษทัณฑ์ โดยให้สินบนแก่ผู้พิพากษา เพราะฉะนั้นงานที่จะต้องทำรีบด่วนก็คือ ขจัดความโง่เขลาโดยให้การศึกษา และขจัดความยากจนโดยช่วยให้เขามีความสามารถประกอบอาชีพที่ซื่อสัตย์สุจริต

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

จือนฺหวี่

พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ (สันสกฤต: मञ्जुश्री Mañjuśrī มญฺชุศฺรี; จีน: 文殊 Wénshū หรือ 文殊師利菩薩 Wénshūshili Púsà; ญี่ปุ่น: もんじゅ Monju; ทิเบต: འཇམ་དཔལ་དབྱངས། Jampelyang; เนวาร์: मंजुश्री Manjushree) เป็นพระโพธิสัตว์ในกลุ่มตถาคตโคตรของพระไวโรจนพุทธะ ชื่อของท่านแปลว่า แสงอันอ่อนหวานหรืออ่อนโยน เป็นพระโพธิสัตว์ที่มีผู้นับถือในทิเบตรองลงมาจากพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ชื่อของท่านมีปรากฏในพระสูตรต่างๆมากมาย เช่น สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายปัญญาและมีหน้าที่คุ้มครองนักปราชญ์ ในงานทางพุทธศิลป์ ท่านมักปรากฏคู่กับพระสมันตภัทรโพธิสัตว์ โดยพระมัญชุศรีอยู่บนสิงโตเขียวส่วนพระสมันตภัทรอยู่บนช้างสีขาวในทิเบต รูปของพระมัญชุศรีเป็นชายหนุ่ม อายุราว 16 ปี นั่งบนดอกบัว มือขวาถือพระขรรค์ มือซ้ายถือดอกบัว หรือคัมภีร์ใบลาน มีกายเป็นสีเหลือง ในจีน ท่านมีชื่อว่า “บุ่งซู้” มีลักษณะเป็นผู้ใหญ่มากกว่าภาพลักษณ์ในทิเบต ยมานตกะ วิทยราชแห่งทิศตะวันตก พุทธศาสนิกชนบางพวกถือว่าเป็นหนึ่งในภาคดุร้ายของพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ พระมัญชุศรีมีภาคสำแดงที่ดุร้ายหลายปางเช่น มัญชุวัชระ ซึ่งมี 3 หัว กายสีแดง อารยมัญชุโฆษะ กายสีเหลือง มี 6 แขน และยมานตกะเป็นต้น ในภาคดุร้ายนี้ ท่านมีศักติตามความนิยมของนิกายตันตระด้วย
1.ธรรมจักรมัญชุศรี ทำท่าธรรมจักรมุทรา ถือก้านดอกบังรองรับดาบและคัมภีร์ในระดับบ่า นั่งขัดสมาธิเพชร
2มัญชุโฆษ พระหัตถ์ทำปางธรรมจักร มีก้านดอกบัวโผล่ทางซ้าย นั่งบนหลังสิงห์
3.มหาราชลีลามัญชุศรีมือซ้ายถือดอกบัวขาบในระดับบ่า มือขวาอยู่ในระดับต่ำ นั่งท่ามหาราชลีลาบนหลังสิงห์
4.ธรรมศังขรสมาธิมัญชุศรี ทำปางสมาธิ นั่งขัดสมาธิเพชร
5.สิทไธกวีระ มือขวาทำปางประทานพร มือซ้ายถือดอกบัวขาบในระดับบ่า นั่งขัดสมาธิเพชร
6.อรปจนะ มือซ้ายถือคัมภีร์แนบอก มือขวาถือพระขรรค์ นั่งขัดสมาธิเพชร
7.สถิรจักร ทำปางประทานพรและถือพระขรรค์ นั่งท่าลลิตาสนะบนดอกบัว มีศักติเคียงข้างเสมอ
8.วาศีศวร มือซ้ายถือดอกบัวขาบ นั่งบนหลังสิงห์ บางครั้งถือระฆัง
9.มัญชุวร ทำปางธรรมจักร มีคัมภีร์ปรัชญาปารมิตาอยู่บนดอกบัว นั่งบนดอกบังหรือบนสิงห์
10.วาทิราฏ ทำปางธรรมจักร นั่งบนหลังเสือ
11.วัชรราคะ หรือ อมิตาภะ-มัญชุศรี ทำปางสมาธิ นั่งขัดสมาธิเพชร รูปแบบนี้จะเหมือน พระอมิตาภะพุทธะมาก เพียงจะแต่งกายแบบกษัตริย์ ส่วนพระอมิตาภะแต่งกายแบบนักบวช
12.นามสังคีติ-มัญชุศรี สามพักตร์ สี่กร สองกรหน้าถือคัมภีร์ปรัชญาปารมิตาและพระขรรค์นั่งบนดอกบัว
13.มัญชุกุมาร สามพักตร์ หกกร สามกรซ้ายถือคัมภีร์ปรั๙ญาปารมิตา ดอกบัวขาบและคันศร สามกรขวาถือพระขรรค์ ลูกศร และทำปางประทานพร
14.มัญชุนาค สามพักตร์ หกกร ห้ากรถือจักร วัชระ รัตนะ ดอกบัว และพระขรรค์ อีกกรทำปางสมาธิ
15.วัชรานังคมัญชุโฆษ เสียรเดียว สี่หรือหกกร ถ้ามีสี่กรจะถือ คันศร ลูกศร ดาบ และดอกบัวรองรับคัมภีร์ ถ้ามีหกกรจะถือคันศรทำด้วยดอกไม้ ลูกศรทำด้วยดอกบัว 16.ดอกบัว ดอกอโศก ดาบ และกระจก
17.มัญชุวัชระ สามพักตร์ หกกร เศียรกลางสีแดง อีกสองเศียรสีฟ้าและขาว สองกรหน้ากอดรัดศักติ กรหนึ่งจับพระพักต์ศักติ ที่เหลือถือวัชระคู่ ดาบ ดอกบัว คันศร ลูกศร
18.ธรรมธาตุวาศิศวรมัญชุศรี สี่พักตร์ แปดกร ทำธรรมจักรมุทรา ถือดาบ คัมภีร์ วัชระ คันศร ลูกศร กลด ขมวดเชือก และขอสับช้าง

jumbo jili

รูปแบบโบราณ ห้าพักตร์ แปดกร หัตถ์ซ้ายกอดรัดศักติ ที่อยู่บนตัก เป็นที่นิยมมากในอินเดีย มือที่เหลือถือคัมภีร์แลดาบ พระสูตรเริ่มกล่าวถึงพระมัญชุศรีตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 8 บางสำนักเชื่อว่าท่านจะปรากฏให้ผู้คนรับรู้ในความฝันเฉพาะเสียงเท่านั้น ถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ที่เป็นเอกทางปัญญา เป็นเทพแห่งเกษตรกรรม วิทยาศาสตร์ โหราศาสตร์และสถาปัตยกรรม ชาวเนปาลเชื่อว่า พระมัญชุศรีเป็นผู้นำพุทธศาสนาไปเผยแพร่ในเนปาล ใน​มหาไวโร​จน​สูตรมีพระธารณีประจำพระองค์ว่า​ โอมอะร​ะปะจะนะพระไวโรจนพุทธะ เป็นพระธยานิพุทธะ 1 ใน 5 องค์ ของนิกายวัชรยาน ทรงเป็นประธานของพระพุทธะทั้ง 5 หมายถึงปัญญาอันสูงสุด ตราประจำพระองค์เป็นธรรมจักร หมายถึง ความเป็นหนึ่ง พระกายเป็นแสงสว่าง มักแทนด้วยสีขาว ตำแหน่งในพุทธมณฑลจะอยู่ตรงกลางโดยมีพุทธะอีก 4 องค์ห้อมล้อม พระโพธิสัตว์ในกลุ่มของท่านที่สำคัญมี 2 องค์ คือ พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ และพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ พระองค์ได้รับการเคารพนับถือจากชาวพุทธทั้งในตะวันออกไกล เนปาล ทิเบต และชวา ชาวพุทธจำนวนมากยกย่องให้เป็นอาทิพุทธะหรือพระพุทธเจ้าองค์ปฐม ความเชื่อเกี่ยวกับพระไวโรนะพุทธะปรากฏตั้งแต่ครั้งยุคมหายานและจรยาตันตระ พระสูตรที่กล่าวถึงพระองค์มีหลายฉบับเช่ มหาไวโรจนสูตร ยกให้พระองค์เป็นศูนย์กลางมณฑล เป็นตัวแทนของความจริงสากล อวตังสกสูตร ที่มีรากฐานมาจากคัณวยูหสูตรและทศภูมิกสูตร กล่าว่าพระไวโรจนะพุทธะเป็นพระพุทธเจ้าในโลกแห่งแสงสว่าง เหมาะกับผู้ที่ต้องการความหลุดพ้นในปัจจุบัน
ในคัมภีร์มรณศาสตร์ของทิเบตกล่าวว่าพระองค์จะปรากฏตัวในวันแรกของบาร์โดพร้อมกับแสงสีคราม พระไวโรจนะมีพระกายสีขาว รัศมีธรรมเป็นสีน้ำเงินอ่อน ในทางวัชรยานถือว่าสีน้ำเงินเป็นสีของความจริงปรมัตถ์ ส่วนสีขาวเป็นที่รวมของสีทั้งหมด เหมือนแสงขาวจากดวงอาทิตย์ที่มองผ่านแท่งแก้วปริซึมจะเห็นเป็นสีต่างๆ 7 สี ซึ่งแทนความหมายของการเป็นประมุขแห่งพระธยานิพุทธะ ธาตุประจำพระองค พระไวโรจนะเป็นตัวแทนของอากาศธาตุ ซึ่งเป็นช่องว่างในจักรวาลที่ต่างจากธาตุลม เป็นตัวแทนของเอกภาพที่รวมทุกสิ่งทุกอย่างเข้าด้วยกัน ศักติหรืออิตถีภาวะ อิตถีภาวะของพระไวโรจนะพุทธะคือวัชรธาตุวิศวรี (ท่านหญิงแห่งปัญญาธาตุ) หรืออากาศธาตุวิศวรี (ท่านหญิงผู้ยิ่งใหญ่แห่งอากาศอันไร้ขอบเขต) เป็นบุคลาธิษฐานของปัญญาญาณ ที่สะท้อนให้เห็นจักรวาลภายใต้พระบารมีธรรมของพระไวโรจนะมีสัญลักษณ์เป็นรูปสามเหลี่ยมหรือเปลวไฟ กายสีขาว อยู่ในท่าแสดงธรรม

สล็อต

ท่าทางประจำพระองค์คือธรรมจักรมุทรา เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึงการหมุนกงล้อธรรมครั้งแรกต่อหน้าปัญจวัคคีย์ทั้งห้า รูปแบบอื่นๆของพระไวโรจนะคือทำท่าสมาธิคล้ายพระอมิตาภะพุทธะแต่จะถือธรรมจักรแทนดอกบัว เสียงประจำพระองค์คือเสียง “โอม” ซึ่งเกิดจากศูนย์ลมบริเวณศีรษะ ในศาสนาพุทธ เสียงนี้หมายถึงความว่าง ในศาสนาฮินดู ใช้เป็นเสียงที่ดึงจิตให้เกิดสมาธิ เพื่อประสานเป็นหนึ่งเดียวกับจักรวาล ธารณีประจำพระองค์ โอม อะ วิ ระ ขัมวัชรธาตุ ตวาม พาหนะของพระไวโรจนพุทธะคือสิงโตเผือก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจ ความกล้าหาญและความยิ่งใหญ่ สิงโตเผือกยังสื่อถึงสิงโตหิมะซึ่งเป็นสัตว์หายากในตำนานของทิเบต จึงเป็นตัวแทนของธรรมะขั้นสูงสุด ลักษณะของพระไวโรจนพุทธะกับพระอักโษภยะพุทธะถือเป็นสิ่งตรงกันข้ามกัน พระไวโรจนะกายขาว รัศมีสีน้ำเงิน พระอักโษภยะ กายสีน้ำเงิน รัศมีสีขาว พระไวโรจนะเป็นตัวแทนของวิญญาณขันธ์ ส่วนพระอักโษภยะเป็นตัวแทนของรูปขันธ์ ตำแหน่งในมณฑลของพระไวโจนะพุทธะทั้งสององค์นี้อาจสลับกันได้ โดยทั่วไปจะใช้พระไวโรจนะเป็นสัญลักษณ์แทนจุดเริ่มต้นและหลักการ ส่วนพระอักโษภยะเป็นสัญลักษณ์ของภาพสะท้อนและการเคลื่อนไหว

สล็อตออนไลน์

การปิดล้อมทั้งทางบกและทางทะเลของสุลต่านเมห์เมตที่ 2 เริ่มต้นขึ้นในต้นฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) ภายหลังที่ปิดล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ประมาณ 50 วัน กองทหารออตโตมันก็สามารถทะลวงกำแพงเมืองอันสูงใหญ่ของกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จในวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) และเข้ายึดกรุงได้ในที่สุด ซึ่งการปิดฉากอย่างสมบูรณ์ของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ซึ่งสามารถยืนหยัดอยู่รอดมาได้ยาวนานถึง 1,123 ปี มีจักรพรรดิปกครองรวมทั้งสิ้น 82 พระองค์จากหลายราชวงศ์ จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 จักรพรรดิองค์สุดท้ายของไบแซนไทน์ทรงสิ้นพระชนม์อย่างมีปริศนา ท่ามกลางความสับสนอลหม่านในวันที่กรุงคอนสแตนติโนเปิลแตก ความสำเร็จในการโจมตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลในครั้งนี้ ถือเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่ของชนเชื้อสายเติร์ก ซึ่งได้อพยพเข้าสู่อนาโตเลีย ภายหลังที่สุลต่าน Alparslan ทรงมีชัยชนะเหนือกองทัพจักรพรรดิโรมานุสที่ 6 (Romanus IV) แห่งอาณาจักรไบแซนไทน์ในสมรภูมิ ณ เมืองมาลัซเกิร์ต (Malazgirt) ในปี พ.ศ. 2244 (ค.ศ. 1701) ชัยชนะของสุลต่าน Alparslan ได้เปิดทางให้ชนเชื้อสายเติร์กจากเอเชียกลางหลั่งไหลเข้าสู่อาณาจักรอนาโตเลีย ในขณะที่ชัยชนะของสุลต่านเมห์เมตที่ 2 ในปี พ.ศ. 1996 ได้เปิดทางให้จักรวรรดิออตโตมันได้ก้าวไปสู่การเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ในเวลาต่อมา หลังที่สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 ทรงตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลแตกเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453 พระองค์ก็ทรงได้รับการขานพระนามว่า ฟาติ เมห์เมต (Fatih Mehmet) “ฟาติ” (Fatih) มีความหมายว่า “ผู้พิชิต” (the conqueror) สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 โปรดให้ย้ายเมืองหลวงของจักรวรรดิจากเมืองเอดิร์เน มายังกรุงคอนสแตนติโนเปิล และได้โปรดให้มีการเปลี่ยนชื่อเมืองเสียใหม่เป็น อิสลามบูล (Islambul) ภายหลังที่มีการสถาปนาสาธารณรัฐตุรกีในปี พ.ศ. 2466 นครอิสลามบูลได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “อิสตันบูล” (Istanbul) ในปัจจุบันในระยะเวลาไม่ถึง 100 ปี นับตั้งแต่ที่สุลต่านเมห์เมตที่ 2 ทรงสามารถตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้สำเร็จ อาณาจักรออตโตมันได้แผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ว กลายเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกมุสลิมในเวลาต่อมา จักรวรรดิออตโตมันได้ขยายอำนาจครอบคลุมดินแดนถึง 3 ทวีป ได้แก่ ตะวันออกกลาง (เอเชีย) แอฟริกาเหนือ และยุโรปบอลข่าน

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

จิงเว่ย

พระฮุ่ยเหนิง (จีน: 慧能 หรือ 惠能) หรือ ท่านพุทธทาสภิกษุ ออกเสียงว่า “เว่ยหลาง” เป็นภิกษุที่มีชีวิตสมัยราชวงศ์ถัง เป็นสังฆปรินายกองค์ที่ 6 ในนิกายเซนนับจากพระโพธิธรรม หลังจากสืบทอดบาตรจีวรและธรรมจากพระสังฆปริณายกองค์ก่อน คือ หวางยั่น (ฮ่งยิ้ม) เป็นพระสังฆปริณายกแห่งนิกายเซนองค์ที่ 5 เจ้าอาวาสวัดตุงซั่น ในหมวดคำสอนครั้งสุดท้ายของท่าน ใจความว่า “สำหรับคำสอนของฉันทั้งหมด นับแต่ได้กล่าวเทศนาในวัดไทฟันตราบจนบัดนี้ จงคัดลอกเป็นเล่มแล้วแจกจ่ายกันไปก็ได้ แต่ให้ชื่อว่า สูตรอันประกาศบนมหาบัลลังก์แห่งธรรมรถ จงทะนุถนอม ไว้ให้ดี แล้วมอบต่อกันไปตามอนุชนแต่ละรุ่น เพื่อช่วยเหลือสัตว์ทั้งปวง บุคคลที่สั่งสอนตามคำสอนนี้ เป็นผู้ที่สั่งสอนตามธรรมแท้ พอแล้วสำหรับธรรม ส่วนการรับช่วงจีวรนั้น ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัน เพราะเหตุใดหรือ? เพราะว่าท่านทั้งหลายต่างก็ศรัทธาต่อคำสอนของฉันโดยพร้อมมูล ทั้งท่านก็ปราศจากความเคลือบแคลงสงสัยใดๆ แล้ว ท่านย่อมสามารถสืบต่อจุดประสงค์อันสูงยิ่งของสำนักเราให้ลุล่วงไปได้ นอกจากนั้นตามความหมายในโศลกของท่านโพธิธรรม พระสังฆปริณายกองค์แรกผู้ถ่ายทอดพระธรรมและบาตรจีวรท่านก็ไม่ประสงค์จะให้มอบแก่ใครต่อไปอีก โศลกนั้นคือ จุดประสงค์ในการมาดินแดนนี้ ก็เพื่อถ่ายทอดพระธรรม สำหรับปลดปล่อยสัตว์ที่ถูกครอบงำไว้ ด้วยความหลงผิด เมื่อมีกลีบครบห้ากลีบ ดอกไม้นั้นก็สมบูรณ์ หลังจากนั้นไป ผลจะปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาติ” และเมื่อมีคำถามในเรื่องการถ่ายทอดธรรมอันเร้นลับที่ว่าไม่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณชนตามที่อนุตรธรรมกล่าวอ้าง ก็ได้กล่าวถึงในที่ประชุมก่อนเว่ยหล่างมรณภาพเช่นกัน ใจความว่า

jumbo jili

ที่ประชุมถามว่า “ใครครับ พระคุณท่าน ที่ท่านได้ถ่ายทอดขุมกำเนิดแห่งดวงตาของธรรมแท้” พระสังฆปริณายกตอบว่า “มนุษย์ในหลักธรรมย่อมได้รับ และบรรดาผู้ซึ่งหลุดพ้นแล้วจากความคิดเห็นอันเฉียบขาด ย่อมเข้าใจ” ซึ่งจะเห็นได้ว่าธรรมนั้นมิใช่สิ่งเร้นรับอันใดเลย ปัจจุบันประเทศไทยเอง ก็มีการจัดสร้างรูปเหมือนของของพระฮุ่ยเหนิง ที่สร้างตามรูปแบบสรีระที่ไม่เน่าเปื่อยของท่าน ซึ่งพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จทรงเททองหล่อรูปเหมือนของพระฮุ่ยเหนิง เพื่อประดิษฐานบนหอบูรพาจารย์ มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย ตำบลหอมเกร็ด อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน 2558 ซึ่งถือเป็นการเผยแพร่อาจาริยคุณ ในประเทศไทย อย่างเป็นทางการ ต่อมาพระธรรมาจารย์หมิงเซิงมหาเถระ รองประธานสำนักพุทธศาสนาแห่งประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประธานสำนักพุทธศาสนามณฑลกวางตุ้ง เจ้าอาวาสวัดกวางเซี้ยว เมืองกวางโจว ได้เมตตามอบรูปหล่อพระสังฆนายก “หุ่ยเหนิง” เนื้อทองเหลือง สูง 1.98 เมตร จากวัดกวงเซี้ยว ที่จัดสร้างเพียง 3 องค์ (วัดกวงเซี้ยว แห่งนี้เป็นวัดที่ท่านหุ้ยเหนิง ได้ปลงผมใต้ต้นโพธิ์ใหญ่ และได้นำเกศาบรรจุไว้ในสถูป 7 ชั้น ซึ่งปัจจุบันยังคงอยู่ และยังเป็นสถานที่พระอาจารย์โพธิธรรม(ตั๊กม้อ) ได้เคยพักอาศัยเมื่อ 2 พันกว่าปีก่อนด้วย) โดยรูปปฏิมานี้ ได้ปั้นและหล่อโดยช่างฝีมือ ชื่อ พ่านเคอ เป็น 1 ใน 4 ช่างปั้นที่มีชื่อเสียงที่สุดของจีน เพื่ออัญเชิญกลับสู่ประเทศไทย และประดิษฐานเป็นการถาวร เปิดให้สาธุชนได้เข้ากราบสักการะ ภายในหอบูรพาจารย์ มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย พุทธมณฑลสาย 6 ถือเป็นนิมิตหมายมงคล แห่งการเผยแผ่พระพุทธธรรมมหายาน สายฌาน(เซ็น) และบารมีธรรมแห่งพระบูรพาจารย์ จากต้นกำเนิดสู่ประเทศไทย

สล็อต

ในช่วงที่เซลจุกเติร์กกำลังเสื่อมอำนาจ ชาวเติร์กเผ่าอื่น ๆ ซึ่งได้อพยพตามเซลจุกเติร์กเข้ามายังอนาโตเลียจึงได้ถือโอกาสประกาศตนเป็นเอกราช ซึ่งในจำนวนนี้รวมถึงชาวเติร์กกลุ่มหนึ่งภายใต้การนำของออสมาน เบย์ (Osman Bey) (“เบย์” ในภาษาตุรกีมีความหมายว่า ผู้นำ หรือ เจ้าเมือง) ผู้นำชาวเติร์กเผ่าคายี (Kayi) ซึ่งเป็นสายย่อยของเติร์กเผ่าโอกูซ (Oghuz) บิดาของออสมัน ชื่อ Ertugrul เป็นผู้นำเผ่าคายี ซึ่งเป็นเติร์กกลุ่มหนึ่งที่อพยพเข้าไปอยู่ในเปอร์เซีย ในกลางศตวรรษที่ 13 Ertugrul ได้พาเผ่าของตนอพยพเข้ามายังอนาโตเลีย เพื่อหลบหนีการโจมตีจากพวกมองโกล เมื่ออพยพเข้ามายังอนาโตเลียแล้ว Ertugrul เสียชีวิต ออสมันบุตรชายได้ขึ้นเป็นผู้นำแทน ภายหลังที่อาณาจักรเซลจุกเสื่อมอำนาจ ออสมันได้ถือโอกาสประกาศตนเป็นเอกราชและได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง ขึ้นในภาคตะวันตกของอนาโตเลีย อาณาจักรแห่งนี้ชาวตะวันตกเรียกว่า ออตโตมัน (Ottoman) แต่ในภาษาตุรกีจะเรียกว่า ออสมานลึ (Osmanli) ตามพระนามของสุลต่านออสมาน (Osman) ผู้สถาปนาอาณาจักรและราชวงศ์ จักรวรรดิออตโตมันมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองบูร์ซา เดิมชื่อเมืองโพรอุสซา (Proussa) ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 ออสมานได้ยกกำลังมาปิดล้อมเมืองนี้แต่ไม่สามารถยึดเมืองได้ หลังจากที่พยายามปิดล้อมเมืองอยู่นานเกือบ 10 ปี อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 1869 (ค.ศ. 1326) ชาวเมืองโพรอุสซา ได้ยอมแพ้ต่อ ออร์ฮัน (Orhan) โอรสของออสมาน ซึ่งได้ขันมาเป็นผู้นำแทนบิดา การเข้ายึดครองเมืองดังกล่าวนี้ได้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญต่อออตโตมัน ออตโตมันเติร์กซึ่งเดิมเป็นชนเผ่าเร่ร่อนได้ลงหลักปักฐานที่เมืองนี้ พรัอมกับยุติการใช้ชีวิตแบบเร่ร่อน เมืองบูร์ซ่าเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรออตโตมันเติร์ก จนถึงปี พ.ศ. 1905 ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของสุลต่านออร์ฮัน เมืองหลวงของออตโตมันก็ถูกย้ายไปเมืองเอดิร์เน (Edirne) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของนครคอนสแตนติโนเปิล

สล็อตออนไลน์

อาณาจักรออตโตมันตั้งประชิดติดกับอาณาจักรไบแซนไทน์ ที่กำลังเสื่อมอำนาจลงตามลำดับ โดยมีดินแดนเหลืออยู่เพียงกรุงคอนสแตนติโนเปิลและอาณาบริเวณโดยรอบเท่านั้น ซึ่งมีสภาพไม่ต่างอะไรไปจากนครเล็ก ๆ ที่ถูกล้อมรอบโดยอาณาจักรออตโตมัน ที่กำลังเข้มแข็งมากขึ้นเรื่อย ๆ อย่างไรก็ดีนครรัฐไบแซนไทน์ก็ยังสามารถยืนหยัดอยู่ได้ โดยอาศัยกำแพงเมืองสูงใหญ่เป็นปราการป้องกันตนเอง กำแพงแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยจักรพรรดิธีโอดอซิอุสที่ 2 (Theodosius II) กำแพงแห่งนี้ได้ปกป้องคุ้มครองนครคอนสแตนติโนเปิลจากการปิดล้อมและโจมตีของออตโตมันเติร์ก ซากของกำแพงในปัจจุบันจัดเป็นสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่ยังหลงเหลือให้เห็นจนกระทั่งทุกวันนี้และได้รับการยกย่องจาอองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ในปี พ.ศ. 1933 (ค.ศ. 1390) และ พ.ศ. 1934 สุลต่านไบยัดซึที่ 1 ทรงพยายามปิดล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลถึง 2 ครั้ง แต่ก็ไม่สามารถตีเมืองได้สำเร็จ ในปี พ.ศ. 1965 (ค.ศ. 1422) สุลต่านมูราตที่ 2 ได้ทำการปิดล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลอีกเป็นครั้งที่ 3 แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จเช่นกัน จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) สุลต่านเมห์เมตที่ 2 ได้เปิดฉากการโจมตีกรุงคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งในขณะนั้นมีพลเมืองเหลืออยู่เพียงประมาณ 50,000 คน จากเดิมที่เคยมีมากกว่า 500,000 คน

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

จักรพรรดินีเจียง

กวนอู (เสียชีวิต เดือนมกราคมหรือกุมภาพันธ์ ค.ศ. 220) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า กวน ยฺหวี่ (จีน: 關羽; พินอิน: Guān Yǔ) มีชื่อรองว่า หุนเตี๋ยง หรือในภาษาจีนกลางว่า ยฺหวินฉาง (จีน: 雲長; พินอิน: Yúncháng) เป็นขุนพลของขุนศึกเล่าปี่ในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของจีน กวนอูมีความสัมพันธ์ฉันพี่น้องกับเล่าปี่รวมถึงเตียวหุยและติดตามเล่าปี่ตลอดช่วงเริ่มตั้งตัว กวนอูมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ที่นำไปสู่ยุคสิ้นราชวงศ์ฮั่นและการสถาปนารัฐจ๊กก๊กของเล่าปี่ในยุคสามก๊ก กวนอูมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการตอบแทนบุญคุณของโจโฉด้วยการสังหารงันเหลียงขุนพลของอ้วนเสี้ยวข้าศึกของโจโฉในยุทธการที่แปะแบ๊โดยที่ตัวกวนอูยังคงภักดีต่อเล่าปี่ หลังจากเล่าปี่ยึดได้แคว้นเอ๊กจิ๋วในปี ค.ศ. 214 กวนอูยังคงอยู่ที่แคว้นเกงจิ๋วเพื่อปกครองและป้องพื้นพื้นที่เป็นเวลาประมาณเจ็ดปี ในปี ค.ศ. 219 ระหว่างที่กวนอูนำทัพไปรบกับกองกำลังของโจโฉในยุทธการที่อ้วนเสีย ซุนกวนพันธมิตรของเล่าปี่ได้ทำลายความเป็นพันธมิตรซุน-เล่าแล้วส่งขุนพลลิบองเข้ายึดครองอาณาเขตของเล่าปี่ในแคว้นเกงจิ๋ว กว่าที่กวนอูซึ่งพ่ายแพ้ในการรบที่อ้วนเสียจะทราบข่าวการเสียแคว้นเกงจิ๋วก็สายเกินแก้ ภายหลังกวนอูถูกกองกำลังของซุนกวนซุ่มจับตัวได้และถูกประหารชีวิต หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับชีวประวัติของกวนอูที่เชื่อถือได้คือ จดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อ) เขียนโดยตันซิ่วในศตวรรษที่ 3 ครั้นศตวรรษที่ 5 เผย์ ซงจือได้เพิ่มอรรถาธิบายให้กับจดหมายเหตุสามก๊ก โดยได้รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานอื่น ๆ เพิ่มเติมให้กับงานต้นฉบับของตันซิ่ว และได้เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัวไปด้วย บันทึกส่วนหนึ่งที่ใช้ในการเพิ่มอรรถาธิบายให้กับชีวประวัติของกวนอู ได้แก่ ฉู่จี้ (จดหมายเหตุจ๊กก๊ก) โดยหวัง อิ่น; เว่ย์ชู (จดหมายเหตุวุยก๊ก) โดยหวัง เฉิน, สฺวิน อี่ และ หร่วน จี๋; เจียงเปี่ยวจฺวั้น โดย ยฺหวี ผู่; ฟู่จื่อ โดย ฟู่ เสฺวียน; เตี่ยนเลฺว่ โดย ยฺหวี ฮฺว่าน; อู๋ลี่ (ประวัติศาสตร์ง่อก๊ก) โดย หู ชง; และ หฺวาหยางกั๋วจื้อ โดย ฉาง ฉฺวี

jumbo jili

ลักษณะภายนอก ในบันทึกทางประวัติศาสตร์ไม่มีข้อความที่บรรยายลักษณะภายนอกของกวนอูอย่างแน่ชัด แต่ในจดหมายเหตุสามก๊กได้บันทึกไว้ว่า ครั้งหนึ่งจูกัดเหลียงได้กล่าวถึงกวนอูว่ามี “เคราที่มิมีผู้ใดเทียบ” ตามความเชื่อดั้งเดิม กวนอูถูกบรรยายลักษณะว่าเป็นนักรบใบหน้าแดงที่มีเคราดกยาว แนวคิดเรื่องหน้าแดงนี้มาจากคำบรรยายลักษณะของกวนอูในตอนที่ 1 ของนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ซึ่งประพันธ์ในศตวรรษที่ 14 ตามเนื้อความต่อไปนี้ “เหี้ยนเต๊ก (เล่าปี่) มองไปที่บุรุษนั้นผู้มีสูงเก้าฉื่อ และมีเครายาวสองฉื่อ หน้ามีสีเหมือนผลพุทราสุก ริมฝีปากแดงและอวบอิ่ม ดวงตาเหมือนกับหงส์แดง คิ้วคล้ายหนอนไหม มีท่าทางสง่างามองอาจ”
สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 1 บรรยายลักษณะของกวนอูไว้ตามเนื่อตวามต่อไปนี “เล่าปี่เห็นผู้นั้นสูงประมาณหกศอกหนวดยาวประมาณศอกเศษ หน้าแดงดังผลพุทราสุก ปากแดงดังชาดแต้ม คิ้วดังตัวไหม จักษุยาวดังนกการะเวก เห็นกิริยาผิดประหลาทกว่าคนทั้งปวง” เล่าปี่ (ด้านซ้าย) กวนอู (ด้านหลัง) และเตียวหุย (ด้านขวา) ในภาพวาดโดยศิลปินชาวญี่ปุ่น ซากุไร เซกกัง (1715–90) กวนอูเป็นชาวอำเภอไก่เหลียง(解縣 เสี่ยเซี่ยน) เมืองฮอตั๋ง (河東郡 เหอตงจฺวิ้น) ซึ่งในปัจจุบันคือเมืองยฺวิ่นเฉิง มณฑลชานซี ชื่อรองเดิมของกวนอูคือฉางเชิง (長生).[ซันกั๋วจื้อ 2] กวนอูมีความสนใจในตำราประวัติศาสตร์ยุคโบราณจั่วจฺวั้น และสามารถท่องจำได้อย่างแม่นยำ กวนอูหนีออกจากบ้านเกิดด้วยเหตุการณ์ที่ไม่ทราบแน่ชัด และเดินทางไปยังเมืองตุ้นก้วน (涿郡 จัวจฺวิ้น; ปัจจุบันคือเมืองจัวโจว มณฑลหูเป่ย์). เมื่อกบฏโพกผ้าเหลืองก่อการขึ้นในปี ค.ศ. 184 กวนอูและเตียวหุยเข้าร่วมกองกำลังทหารอาสาที่ก่อตั้งโดยเล่าปี่ และช่วยเหลือนายพลเจาเจ้งในการปราบจลาจล เมื่อเล่าปี่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการ (相 เซียง) ของรัฐเพงงวนก๋วน (平原國 ผิงยฺเหวียนกั๋ว; ปัจจุบันคือเมืองเต๋อโจว มณฑลชานตง) กวนอูและเตียวหุยก็ได้รับการแต่งตั้งให้มีตำแหน่งเปี๋ยปู้ซือหม่า (别部司馬บัญชากองทหารสองกองแยกกันภายใต้สังกัดของเล่าปี่ ทั้งสามคนเล่าปี่ กวนอู และเตียวหุยมีความสนิทกันเหมือนเป็นพี่น้องกัน และนอนร่วมเตียงกัน กวนอูและเตียวหุยมักยืนให้ความคุ้มครองเล่าปี่อยู่ด้านหลังเมื่อเล่าปี่พบปะกับผู้อื่น ทั้งคู่ติดตามเล่าปี่ในการตั้งตัวและช่วยปกป้องเล่าปี่จากอันตราย เล่าปี่และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ติดตามโจโฉกลับไปเมืองหลวงฮูโต๋ (許 สฺวี่; ปัจจุบันคือเมืองสฺวี่ชาง มณฑลเหอหนาน) หลังจากทำศึกชนะลิโป้ในยุทธการที่แห้ฝือในปี ค.ศ. 198 ประมาณหนึ่งปีหลังจากนั้น เล่าปี่และผู้ติดตามได้หนีออกจากเมืองฮูโต๋ โดยอ้างว่าจะช่วยโจโฉนำทหารไปโจมตีอ้วนสุด เล่าปี่ไปยังแคว้นชีจิ๋ว สังหารกีเหมา (車冑 เชอ โจ้ว) ผู้เป็นข้าหลวงแคว้น และเข้าควบคุมแคว้นชีจิ๋ว เล่าปี่ย้ายไปอยู่เมืองเสียวพ่าย (小沛 เสี่ยวเพ่ย์; ปัจจุบันคืออำเภอเพ่ย์ มณฑลเจียงซู) ให้กวนอูอยู่รักษาเมืองแห้ฝือ (下邳 เซี่ยพี; ปัจจุบันคือเมืองพีโจว มณฑลเจียงซู) เมืองเอกของแคว้นชีจิ๋วกั๋วจื้อจู้ ในปี ค.ศ. 200 โจโฉยกทัพมาโจมตีเล่าปี่จนแตกพ่ายแล้วเข้ายึดแคว้นชีจิ๋วคืน เล่าปี่หนีไปทางภาคเหนือของจีนแล้วเข้าหลบภัยกับอ้วนเสี้ยวที่เป็นคู่ศึกกับโจโฉ ส่วนกวนอูถูกกองทัพของโจโฉจับตัวได้แล้วพากลับเมืองฮูโต๋ โจโฉปฏิบัติต่อกวนอูอย่างให้เกียรติ และได้ทูลขอพระเจ้าเหี้ยนเต้ให้พระราชทานแต่งตั้งให้กวนอูมีตำแหน่งเพียนเจียงจฺวิน (偏將軍). ต่อมาในปีเดียวกัน อ้วนเสี้ยวให้ขุนพลงันเหลียงนำทหารเข้าโจมตีกองทหารรักษาการณ์ของโจโฉที่แปะแบ๊ (白馬 ปั๋วหม่า; ปัจจุบันอยู่บริเวณใกล้กับอำเภอหฺวา มณฑลเหอหนาน) ซึ่งป้องกันโดยเล่าเอี๋ยน (劉延 หลิว เหยียน) โจโฉให้เตียวเลี้ยวและกวนอูนำทหารกองหน้าไปรบกับข้าศึก ระหว่างการรบกวนอูจำสัปทนของงันเหลียงได้จึงมุ่งตรงไปหางันเหลียง ตัดศีรษะงันเหลียงได้แล้วหิ้วศีรษะนั้นกลับมา ทหารของงันเหลียงไม่สามารถต้านทานกวนอูไว้ได้ การล้อมที่แปะแบ๊จึงคลี่คลายไป โจโฉถวายคำแนะนำให้พระเจ้าเหี้ยนเต้พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้กวนอูเป็น “หั้นสือแต่งเฮา ” (漢壽亭侯 ฮั่นโซ่วถิงโหฺว)

สล็อต

ตีจากโจโฉ แม้ว่าโจโฉจะชื่นชมกวนอูเป็นอย่างมาก แต่ก็รู้สึกได้ว่ากวนอูคงไม่ตั้งใจจะรับราชการกับตนเป็นเวลานาน โจโฉได้บอกกับเตียวเลี้ยวว่า “ขอท่านจงใช้ความเป็นเพื่อนกับกวนอูไปเลียบเคียงถามถึงความต้องการของกวนอูด้วย” เมื่อเตียวเลี้ยวถามกวนอู กวนอูจึงตอบว่า “ข้าทราบดีว่าท่านโจดีต่อข้าเป็นอย่างมาก แต่ข้าก็ได้รับความกรุณาเป็นอย่างมากจากขุนพลเล่าและข้าได้สาบานว่าจะติดตามท่านไปจนสิ้นชีวิต ข้ามิอาจละคำสาบานได้ ท้ายที่สุดแล้วข้าจะจากไป ขอท่านโปรดช่วยข้านำความนี้ไปว่ากล่าวกับท่านโจด้วย” เตียวเลี้ยวนำความที่กวนอูกล่าวไปบอกกับโจโฉ โจโฉจึงยิ่งประทับใจในตัวกวนอูมากขึ้นไปอีก[ซันกั๋วจื้อ 8] ในฟู่จื่อมีรายละเอียดของเหตุการณ์นี้ที่แตกต่างออกไปเล็กน้อย โดยบันทึกไว้ว่าเตียวเลี้ยวมีความลำบากใจว่าจะนำความที่กวนอูกล่าวไปแจ้งกับโจโฉดีหรือไม่ หากนำความไปแจ้ง โจโฉอาจจะสั่งประหารกวนอู หากไม่แจ้ง โจโฉก็อาจจะปลดตนออกจากตำแหน่ง เตียวเลี้ยวถอนหายใจแล้วว่า “ท่านโจเป็นนายของข้าและเป็นเหมือนบิดาของข้า ส่วนกวนอูก็เป็นเหมือนพี่น้องของข้า” ในที่สุดเตียวเลี้ยวจึงตัดสินใจแจ้งโจโฉ โจโฉจึงว่า “ผู้ใดรับใช้นายแต่ก็ไม่ลืมรากเหง้าถือเป็นผู้ทรงธรรมโดยแท้ ท่านคิดว่าเขาจะจากไปเมื่อใดหรือ?” เตียวเลี้ยวตอบว่า “กวนอูได้รับความกรุณาจากนายท่าน เขาอาจจะจากไปหลังจากได้ตอบแทนบุญคุณท่านแล้ว”[ซันกั๋วจื้อจู้ 3] หลังจากกวนอูสังหารงันเหลียงและสลายวงล้อมที่แปะแบ๊แล้ว โจโฉก็รู้ว่ากวนอูจะจากไปในไม่ช้าจึงมอบรางวัลให้กวนอูมากขึ้น กวนอูผนึกของขวัญทั้งหมดที่ได้รับจากโจโฉ เขียนหนังสืออำลาถึงโจโฉ และมุ่งหน้าไปยังอาณาเขตของอ้วนเสี้ยวเพื่อไปหาเล่าปี่ ผู้ใต้บังคับบัญชาของโจโฉต้องการจะไล่ตามจับกวนอู แต่โจโฉห้ามไว้แล้วกล่าวว่า “เขาแค่ทำตามหน้าที่เพื่อนายของตน ไม่จำเป็นต้องไล่ตามจับ” ผย์ ซงจือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ว่า “โจโฉชื่นชมกวนอูอย่างมากแม้ตนจะรู้ว่ากวนอูจะไม่อยู่เป็นลูกน้องตนอีก จึงไม่ส่งคนไปไล่ตามกวนอูเมื่อกวนอูจากไป เปิดโอกาสให้กวนอูสำเร็จผลเพื่อความจงรักภักดี (ต่อเล่าปี่) หากเขามิใช่คนใจกว้างอย่างที่ขุนศึกผู้ยิ่งใหญ่เป็น เขาจะปล่อยให้เกิดเหตุเช่นนี้หรือ นี่เป็นตัวอย่างของคุณธรรมของโจโฉ” ภาพจิตรกรรมของกวนอู “บุกเดี่ยวพันลี้” (千里走單騎) ที่พระราชวังฤดูร้อน กรุงปักกิ่ง เมื่อโจโฉรบกับอ้วนเสี้ยวในยุทธการที่กัวต๋อในปี ค.ศ. 200 อ้วนเสี้ยวส่งเล่าปี่ไปติดต่อกับเล่าเพ็ก (劉辟 หลิว พี่) ผู้นำกลุ่มกบฏโพกผ้าเหลืองในเมืองยีหลำ (汝南 หรู่หนาน) และช่วยเล่าเพ็กในการโจมตีเมืองหลวงฮูโต๋ (許 สฺวี่; ปัจจุบันคือเมืองสฺวี่ชาง มณฑลเหอหนาน) ในขณะที่โจโฉอยู่ไกลถึงกัวต๋อ กวนอูกลับมาร่วมกับเล่าปี่ในช่วงเวลานี้ เล่าปี่และเล่าเพ็กพ่ายแพ้ให้กับโจหยินขุนพลของโจโฉ จากนั้นเล่าปี่จึงกลับไปหาอ้วนเสี้ยว เล่าปี่ลอบวางแผนจะตีจากอ้วนเสี้ยว จึงแสร้งทำเป็นเสนอให้อ้วนเสี้ยวเป็นพันธมิตรกับเล่าเปียวผู้ครองแคว้นเกงจิ๋ว อ้วนเสี้ยวมอบหมายให้เล่าปี่ไปติดต่อกับก๋งเต๋า (共都/龔都 กงตู) ผู้นำกลุ่มกบฏอีกคนในยีหลำ และรวบรวมทหารได้สองสามพันคน ฝ่ายโจโฉหลังจากได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนืออ้วนเสี้ยวที่กัวต๋อก็ยกทัพกลับมาโจมตีเมืองยีหลำและเอาชนะเล่าปี่ได้ เล่าปี่หนีลงทางใต้และเข้าหลบภัยกับเล่าเปียว เล่าเปียวมอบหมายให้เล่าปี่ดูแลอำเภอซินเอี๋ย (新野 ซินเหย่; ปัจจุบันตืออำเภอซินเหย่ มณฑลเหอหนาน) ที่ชายแดนทางเหนือของแคว้นเกงจิ๋ว กวนอูได้ติดตามเล่าปี่ไปอยู่ที่ซินเอี๋ย

สล็อตออนไลน์

เล่าเปียวเสียชีวิตในปี ค.ศ. 208 เล่าจ๋องบุตรชายคนเล็กของเล่าเปียวสืบทอดตำแหน่งแทนและต่อมาก็ยอมจำนนมอบแคว้นเกงจิ๋วให้โจโฉเมื่อโจโฉเริ่มการทำศึกเพื่อปราบปรามกองกำลังฝ่ายตรงข้ามทางตอนใต้ของจีน เล่าปี่พร้อมด้วยผู้ติดตามอพยพจากซินเอี๋ยมุ่งไปยังแฮเค้า (夏口 เซี่ยโข่ว; ปัจจุบันคือเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์) ซึ่งรักษาป้องกันโดยเล่ากี๋บุตรชายคนโตของเล่าเปียวและเป็นอิสระจากความควบคุมของโจโฉ ในการเดินทางครั้งนั้นเล่าปี่ได้แบ่งคนของตนออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งนำโดยกวนอูให้แล่นเรือไปตามแม่น้ำมุ่งไปยังกังเหลง (江陵 เจียงหลิง; ปัจจุบันคือเมืองจิงโจว มณฑลหูเป่ย์) อีกกลุ่มนำโดยตัวเล่าปี่เองเดินทางไปทางบก ทหารส่งทหารม้าฝีมือดี 5,000 นายให้ไล่ตามกลุ่มของเล่าปี่และไล่ตามทันทีเตียงปัน (長坂 ฉางป่าน; ปัจจุบันคือเมืองตางหยาง มณฑลหูเป่ย์) แล้วเกิดยุทธการที่สะพานเตียงปันเกี้ยวขึ้น เล่าปี่และผู้ติดตามที่เหลือหนีกองกำลังของโจโฉจนมาถึงท่าน้ำฮันจิ๋น (漢津 ฮั่นจิน) ที่ซึ่งกลุ่มของกวนอูได้ช่วยพาทั้งหมดขึ้นเรือแล้วแล่นไปแฮเค้าด้วยกัน ในปี ค.ศ. 208 เล่าปี่เป็นพันธมิตรกับซุนกวนและเอาชนะโจโฉได้อย่างแตกหักในยุทธการที่ผาแดง โจโฉถอยหนีขึ้นทางเหนือหลังการพ่ายแพ้และมอบหมายให้โจหยินอยู่ป้องกันแคว้นเกงจิ๋ว ในระหว่างยุทธการที่กังเหลง กวนอูได้รับมอบหมายให้แทรกซึมไปสกัดเส้นทางลำเลียงเสบียงของโจหยิน กวนอูจึงนำกองกำลังพิเศษเข้าโจมตีเมืองซงหยงที่มีงักจิ้นขุนพลของโจโฉเป็นผู้รักษา งักจิ้นเอาชนะกวนอูและซู เฟย์ (蘇非) ให้ล่าถอยไปได้ หลังเล่าปี่ยึดครองได้หลายเมืองของแคว้นเกงจิ๋วใต้ เล่าปี่ได้แต่งตั้งให้กวนอูเป็นเจ้าเมือง (太守 ไท่โฉ่ว) ของเมืองซงหยงและเป็นขุนพลปราบโจร (盪寇將軍 ต้างโค่วเจียงจฺวิน) และมอบหมายให้กวนอูไปตั้งกองกำลังที่ทางฝั่งเหนือของแม่น้ำแยงซี ภายหลังกวนอูรบกับงักจิ้นและบุนเพ่งที่สฺวินโข่ว (尋口) และพ่ายแพ้ บุนเพ่งโจมตีคลังแสงและคลังเสบียงของกวนอูที่ท่าน้ำฮันจิ๋น (漢津 ฮั่นจิน) และเผาเรือของกวนอูที่จิงเฉิง (荊城 ระหว่างปี ค.ศ. 212 ถึง ค.ศ. 214 เล่าปี่เริ่มการศึกเพื่อยึดครองแคว้นเอ๊กจิ๋ว (ครอบคลุมพื้นที่ของมณฑลเสฉวนและเมืองฉงชิ่งในปัจจุบัน) จากเล่าเจี้ยงที่เป็นผู้ครองแคว้น ผู้ใต้บังคับบัญชาของเล่าปี่ส่วนใหญ่ได้เข้าร่วมในการศึกนี้ ในขณะที่กวนอูยังคงอยู่รักษาดูแลอาณาเขตของเล่าปี่ในแคว้นเกงจิ๋ว ในช่วงกลางทศวรรษ 210 เกิดกรณีพิพาทเรื่องอาณาเขตระหว่างเล่าปี่และ ซุนกวนในแคว้นเกงจิ๋วใต้ ตามข้อตกลงก่อนหน้านี้ เล่าปี่ได้ “ยืม” แคว้นเกงจิ๋วใต้จากซุนกวนเพื่อใช้เป็นฐานกำลังชั่วคราว เล่าปี่จะต้องคืนอาณาเขตนี้แก่ซุนกวนหลังจากได้ฐานที่มั่นอื่นแล้ว หลังจากเล่าปี่ยึดครองแคว้นเอ๊กจิ๋ว ซุนกวนได้ร้องขอต่อเล่าปี่คืนสามเมืองแต่เล่าปี่ปฏิเสธ ซุนกวนจึงให้ขุนพลลิบองนำทัพไปยึดสามเมือง เล่าปี่โต้กลับด้วยการให้กวนอูนำทัพไปหยุดลิบอง[ซันกั๋วจื้อ อื่น ๆ กำเหลงหนึ่งในผู้ใต้บังคับบัญชาของลิบองได้จัดการขัดขวางกวนอูไม่ให้ข้ามธารน้ำตื้นใกล้อี้หยาง ธารน้ำตื้นนี้จึงได้ชื่อว่า ‘ธารน้ำกวนอู’ (關羽瀨 กวันยฺหวี่ไล่)ภายหลังโลซก (แม่ทัพใหญ่บัญชาการกองกำลังของซุนกวนโดยรวมในแคว้นเกงจิ๋ว) ได้เชิญกวนอูมาพบเพื่อเจรจาจัดการกรณีพิพาทเรื่องอาณาเขต ราวปี ค.ศ. 215 หลังจากโจโฉยึดได้เมืองฮันต๋ง เล่าปี่เห็นว่าเหตุการณ์นี้เป็นภัยคุกคามทางยุทธศาสตร์ต่อตนในแคว้นเอ๊กจิ๋ว จึงตัดสินใจสงบศึกกับซุนกวนและตกลงจะแบ่งแคว้นเกงจิ๋วใต้ส่วนหนึ่งให้ซุนกวนโดยกำหนดเขตแดนใหม่ตลอดแม่น้ำเซียง จากนั้นทั้งสองฝ่ายจึงถอนกำลังไป ในปี ค.ศ. 219 เล่าปี่ได้ชัยชนะต่อโจโฉในยุทธการที่ฮันต๋ง จากนั้นเล่าปี่จึงสถาปนาตนขึ้นเป็น “ฮันต๋งอ๋อง” (漢中王 ฮั่นจงหฺวาง) เล่าปี่แต่งตั้งให้กวนอูเป็นขุนพลกองหน้า (前將軍 เฉียงเจียงจฺวิน) และประทานขวานชั้นยศ ในปีเดียวกัน กวนอูนำทัพยกไปโจมตีโจหยินที่อ้วนเสีย (樊城 ฝานเฉิง; ปัจจุบันตือเขตฝานเฉิง เมืองเซียงหยาง มณฑลหูเป่ย์) และเข้าล้อมป้อมปราการไว้ โจโฉให้อิกิ๋มนำกองหนุนไปช่วยโจหยิน ขณะนั้นเป็นฤดูใบไม้ผลิและเกิดฝนตกหนักจนแม่น้ำฮันซุยล้นตลิ่ง เกิดน้ำท่วมทำลายกองทหารเจ็ดสายของอิกิ๋ม อิกิ๋มยอมจำนนต่อกวนอู ส่วนบังเต๊กผู้ใต้บังคับบัญชาของอิกิ๋มไม่ยอมจำนนจึงถูกกวนอูสั่งประหาร กลุ่มโจรที่นำโดยเหลียง เจี๋ย (梁郟) และลู่ หุน (陸渾) ได้รับตราราชการจากกวนอูจึงมาเข้าร่วมและกลายเป็นผู้ติดตามของกวนอู ชื่อเสียงของกวนอูแพร่สะพัดไปทั่วแผ่นดิน ฉู่จี้ได้บันทึกว่าก่อนที่กวนอูจะเริ่มการศึกที่อ้วนเสีย กวนอูได้ฝันว่ามีหมูป่ามากัดที่เท้า กวนอูจึงบอกกวนเป๋งบุตรชายว่า “ปีนี้พ่ออ่อนแอลงมาก พ่ออาจจะไม่ได้กลับมาเป็น ๆ” หลังจากความพ่ายแพ้ของอิกิ๋ม โจโฉคิดอ่านจะย้ายเมืองหลวงจากเมืองฮูโต๋ (許 สฺวี่; ปัจจุบันคือเมืองสฺวี่ชาง มณฑลเหอหนาน) ขึ้นเหนือไปเหอเป่ย์เพื่อหลีกภัยจากกวนอู แต่สุมาอี้และเจียวเจ้ได้บอกกับโจโฉว่าซุนกวนคงต้องร้อนใจเมื่อได้ยินข่าวชัยชนะของกวนอู แล้วแนะนำให้โจโฉเป็นพันธมิตรกับซุนกวนเพื่อให้ซุนกวนช่วยขัดขวางการรุกคืบของกวนอู และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนโจโฉก็ต้องยอมรับการอ้างสิทธิของซุนกวนเหนือดินแดนกังตั๋ง ด้วยแนวทางนี้การปิดล้อมที่อ้วนเสียก็จะคลี่คลายโดยอัตโนมัติ โจโฉทำตามคำแนะนำนี้ ก่อนหน้านี้ซุนกวนได้ส่งทูตไปพบกวนอูเพื่อเสนอให้มีการแต่งงานระหว่างบุตรชายของตนและบุตรสาวของกวนอู แต่กวนอูปฏิเสธข้อเสนอ ทั้งยังด่าว่าและหยามเกียรติของทูตอย่างรุนแรง ทำให้ซุนกวนโกรธมาก ต่อมาโจโฉให้ซิหลงนำทหารกองหนุนอีกกองไปช่วยโจหยินที่อ้วนเสีย ซิหลงบุกทะลวงผ่าวงล้อมของกวนอูในสนามรบ จึงสลายการโอบล้อมที่อ้วนเสียได้สำเร็จ [เมื่อกวนอูเห็นว่าไม่อาจยึดอ้วนเสียได้จึงถอนทัพไป ฉู่จี้ได้บันทึกเหตุการณ์การเผชิญหน้าของซิหลงและกวนอูในสนามรบไว้ ซิหลงเคยเป็นเพื่อนสนิทของกวนอู มักจะสนทนากันเรื่องต่าง ๆ นอกเหนือจากเรื่องการทหาร เมื่อทั้งสองได้พบกันอีกครั้งที่อ้วนเสีย ซิหลงได้ถ่ายทอดคำสั่งกับทหารของตนว่า “ใครตัดศีรษะกวนอูได้จะได้รับรางวัลเป็นทองคำ 1,000 ชั่ง” กวนอูตกใจจึงถามซิหลงว่า “พี่ท่านเหตุใดจึงกล่าวเช่นนี้” ซิหลงตอบว่า “นี่เป็นเรื่องการของแผ่นดิน”

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot

เง็กเซียนฮ่องเต้

เต้าจี้ฉานซือ (จีนตัวย่อ: 道济禅师; จีนตัวเต็ม: 道濟禪師; พินอิน: dào jì chán shī) (1130–1207) หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ จี้กง (จีนตัวย่อ: 济公; จีนตัวเต็ม: 濟公; พินอิน: Jìgōng, อาจารย์จี้) หรือ จี้กงหัวฝอ (จีนตัวย่อ: 济公活佛; จีนตัวเต็ม: 濟公活佛; พินอิน: Jìgōng huófó “จี้กงพุทธะผู้ยังมีชีวิต”) เป็นพระภิกษุชาวจีน นิกายฉาน (เซน) สมัยราชวงศ์ซ่งใต้ มีนามเดิมว่า หลี่ ซิวหยวน (李修元 บางแห่งเขียนเป็น 李修缘) หลี่ ซิวหยวน บวชเป็นภิกษุที่วัดหลิงอิ่น เมืองหางโจว มีพระอาจารย์ฮุ่ยหย่วนเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่าเต้าจี้ แม้เป็นภิกษุ แต่พระเต้าจี้มักมีพฤติกรรมแปลกจากจารีต คือชอบฉันเนื้อสุนัข ดื่มสุรา ครองจีวรที่เป็นผ้าขี้ริ้วสกปรก จึงถูกคณะสงฆ์ขับออกจากวัด และใช้ชีวิตเร่ร่อนอยู่ข้างถนน แต่พระเต้าจี้มีจิตใจดี ชอบช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ เช่น เจ็บป่วย หรือถูกรังแก จึงเป็นที่นับถือของประชาชน นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่าท่านสามารถแสดงอิทธิฤทธิ์ได้ และเชื่อว่าท่านเป็นพระนนทิมิตร หนึ่งในพระอรหันต์สิบแปดองค์กลับชาติมาเกิด หลังจากพระเต้าจี้ถึงแก่มรณภาพในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1207 ลัทธิเต๋าได้ยกย่องท่านเป็นเทพเจ้า จากนั้นไม่นานคณะสงฆ์จึงรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของท่านราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (จีน: 宋朝; พินอิน: Sòng Cháo; เวด-ไจลส์: Sung Ch’ao) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปี พ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ

jumbo jili

เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหารของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรมและเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใด ๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่าง ๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ “คนป่าเถื่อน” ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ “หวังอั้นจี่” ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงินของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้ายก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉินไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทนแผ่นดินภาคกลาง ภายหลังจักรพรรดิโจวกงตี้ แห่งราชวงศ์โฮ่วโจวสิ้นพระชนม์ลง (ราชวงศ์สุดท้ายในห้าราชวงศ์) ภายในราชสำนักอยู่ในภาวะตึงเครียด ภายนอกเผชิญภัยคุกคามจากทัพเหลียว ปี พ.ศ. 1503 เกิดเหตุเปลี่ยนแปลงที่เฉินเฉียว เจ้า ควงอิ้น ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งแม่ทัพรักษาวังหลวง บัญชาการกองกำลังที่เข้มแข็งที่สุดในเวลานั้น ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มนายทัพใต้ร่มธง บีบให้โจวก้งตี้ วัยเจ็ดขวบสละราชย์ จากนั้นสถาปนาราชวงศ์ซ่งขึ้นแทนที่โฮ่วโจว นักประวัติศาสตร์จีนเรียกว่า เป่ยซ่งหรือซ่งเหนือซ่งไท่จู่ เจ้า ควงอิ้นขึ้นครองราชย์ได้ไม่นาน ก็จัด “งานเลี้ยงสุราปลดอาวุธ” สลายกำลังของนายทหารกลุ่มต่าง ๆ ที่สนับสนุนตนขึ้นสู่บัลลังก์โดยไม่เสียเลือดเนื้อ ด้วยเกรงว่าจะเกิดเหตุการณ์เช่นเดียวกันนี้ขึ้นได้อีก ทั้งเล็งเห็นว่าการที่นายทัพคุมกำลังทหารไว้ ย่อมจะมีอำนาจพลิกฟ้าอยู่ในมือ ซ่งไท่จู่ (เจ้า ควงอิ้น) จึงใช้วิธีการเดียวกันในการโอนถ่ายอำนาจทางทหารของแม่ทัพรักษาชายแดนเข้าสู่ส่วนกลาง นอกจากนี้ เพื่อลิดรอนอำนาจขุนนางที่อาจส่งผลคุกคามต่อราชบัลลังก์ในภายภาคหน้า จึงออกกฎระเบียบใหม่ ให้มีเพียงขุนนางระดับสูงเท่านั้นที่สามารถเข้าเฝ้าเพื่อปรึกษาราชกิจ โดยมีกษัตริย์เป็นผู้ตัดสินชี้ขาด ขุนนางเป็นเพียงผู้รับไปปฏิบัติ ไม่ได้มีหน้าที่ให้คำปรึกษาชี้แนะข้อราชการดังเช่นแต่ก่อน นับแต่นั้นมา อำนาจเด็ดขาดทั้งมวลจึงตกอยู่ในมือของกษัตริย์แต่เพียงผู้เดียว เวลานั้น รอบข้างยังประกอบด้วยแว่นแคว้นต่าง ๆ สืบเนื่องมาจากสมัยห้าราชวงศ์สิบแคว้น อาทิ โฮ่วสู หนานฮั่น หนานถัง อู๋เยว่ เป่ยฮั่น เป็นต้น ดังนั้นภารกิจสำคัญของเจ้า ควงอิ้นจึงได้แก่การเปิดศึกรวมแผ่นดิน ทัพซ่งมุ่งลงใต้ ทยอยรวบรวมดินแดนภาคใต้กลับมาอีกครั้ง หลังจากปราบแคว้นหนานถังอันเข้มแข็งได้สำเร็จในปี 974 แว่นแคว้นที่เหลือต่างทยอยเข้าสวามิภักดิ์กับราชวงศ์ซ่ง ปลายรัชกาล เจ้า ควงอิ้นหันทัพมุ่งขึ้นเหนือ หวังรวมแคว้นเป่ยฮั่นที่หลงเหลือเพียงหนึ่งเดียว แต่แล้วสิ้นพระชนม์ลงระหว่างการศึกภาคเหนือในปี 1519 ซ่งไท่จง เจ้ากวงอี้ (ปี พ.ศ. 1519 – พ.ศ. 1540) ที่เป็นพระราชอนุชาจึงขึ้นสืบราชบัลลังก์ สานต่อปณิธานรวมแผ่นดิน โดยรวมแคว้นเป่ยฮั่นสำเร็จในปี พ.ศ. 1522 จากนั้นพยายามติดตามทวงคืนดินแดนที่เคยเสียให้กับเหลียว (ปักกิ่งและต้าถง) กองทัพซ่งเหนือเปิดศึกกับเหลียวหลายครั้ง ขณะที่แคว้นเหลียวก็หาโอกาสรุกลงใต้ กลายเป็นสภาพการเผชิญหน้ากัน จวบกระทั่งปี พ.ศ. 1547 ล่วงเข้ารัชกาลซ่งเจินจง (โอรสของซ่งไท่จง) ซ่งเหนือกับเหลียวบรรลุข้อตกลงร่วมกันที่ฉานหยวน สงครามอันยาวนานจึงยุติลง

สล็อต

ราชวงศ์ซ่งได้ใช้ระบบการรวมศูนย์อำนาจผสมกับการการแต่งตั้งข้าราชการจากส่วนกลางออกไปปกครองหัวเมือง ระบบนี้ทำให้ราชสำนักมีเวลาดูแลกิจการในเมืองหลวงมากขึ้นและในยุคนี้มีการก่อสร้างเมืองไม่เพียงเพื่อการบริหารเท่านั้น ยังเป็นการสร้างเมืองเพื่อเป็นศูนย์กลางการพาณิชย์ อุตสาหกรรม พาณิชย์นาวี หัวเมืองชายฝั่งถูกเชื่อมโยงกับหัวเมืองในแผ่นดินการพัฒนานี้ทำให้เกิดสามัญชนที่ร่ำรวยขึ้นมาโดยไม่ต้องรับราชการอย่างในอดีตจำนวนมาก ในด้านวัฒนธรรมนั้น นอกจากพัฒนาสิ่งที่สืบทอดจากสมัยถังแล้ว ยังมีการบันทึกประวัติศาสตร์ ศิลปะการเขียนภาพ ศิลปะการเขียนพู่กัน และการทำเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแข็ง ลัทธิข่งจื่อมีอิทธิพลเหนือพุทธศาสนาเนื่องจากถูกมองว่าเป็นของต่างประเทศ และไม่มีคำตอบสำหรับการปฏิบัติ และแนวทางสำหรับทางการเมืองและปัญหาพื้นฐานทั่วไป ในขณะที่สำนักข่งฟูจื่อได้พัฒนาสู่ลัทธิข่งจื่อแนวใหม่ โดยการนำเอาปรัชญาแนวคิดดั้งเดิมของข่งจื่อมาสอดแทรกด้วยความเห็น ผสมผสานแนวคิดทางศาสนาพุทธ ลัทธิเต๋า เป็นต้น ลัทธิข่งจื่อแนวใหม่ที่มีอิทธิพลอย่างสูงคือแนวคิดของ ชูสี่ 朱喜 ซึ่งมีแนวคิดในการสอนให้เชื่อฟังฝ่ายเดียว และตำหนิการคัดค้านผู้ปกครอง กล่าวคือ ลูกต้องเชื่อฟังพ่อแม่ ภรรยาเชื่อฟังสามี ผู้น้อยเชื่อฟังผู้อาวุโสกว่า เป็นต้น แนวคิดนี้ถูกปลูกฝังลึกอยู่ในสังคมจีนจนถึงศตวรรษที่ 19 แต่ยังคงมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของชาวเกาหลี และ ญี่ปุ่นจนทุกวันนี้ ปลายรัชกาลซ่งไท่จง/เจ้ากวงอี้ ชนเผ่าตั่งเซี่ยง ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเริ่มมีขุมกำลังเข้มแข็งขึ้น หันไปสวามิภักดิ์กับแคว้นเหลียว ราชสำนักซ่งจึงสั่งปิดชายแดนตัดขาดการติดต่อค้าขายระหว่างกัน ทำให้เกิดธุรกิจค้าเกลือเถื่อน และการปล้นสะดมสินค้าในบริเวณใกล้เคียง สองฝ่ายปะทะกันหลายครั้งแต่ไม่อาจเอาชนะกันได้ ต่อเมื่อ ปี 1006 ภายหลังซ่งทำสัญญาสงบศึกกับเหลียว จึงหันมาผูกมิตรกับซ่งเหนือ เปิดการค้าชายแดนตามปกติจวบกระทั่งปี พ.ศ. 1581 หลี่หยวนเฮ่า ผู้นำคนใหม่ในเวลานั้น สถาปนาแคว้นซี่เซี่ย ขึ้นเป็นผลสำเร็จ ที่เมืองซิ่งโจว (ปัจจุบันคือเมืองอิ๋นชวน มณฑลหนิงเซี่ย) ซีเซี่ยฉีกสัญญาพันธมิตรที่มีมากว่า 30 ปี เริ่มรุกรานเข้าดินแดนภาคตะวันตกของซ่งเหนือ ขณะที่กองทัพซ่งเหนือพ่ายแพ้ครั้งแล้วครั้งเล่า พยายามเรียกร้องให้มีการเจรจากสงบศึกแต่ไม่เป็นผล อย่างไรก็ตาม เมื่อทำศึกเป็นเวลานาน การค้าที่เคยมีต้องประสบกับความเสียหาย ซีเซี่ยกลับเป็นฝ่ายเดือดร้อนเพราะขาดแคลนสินค้าที่จำเป็น สุดท้าย ซีเซี่ยจึงยอมเจรจาสงบศึก โดยซี่เซี่ยยอม “สวามิภักดิ์” กับราชสำนักซ่ง ขณะที่ซ่ง “พระราชทาน” ผ้าไหมแพรพรรณ เงินทองและชาให้กับซีเซี่ย สองฝ่ายต่างรื้อฟื้นเส้นทางค้าขายระหว่างกันดังเดิม

สล็อตออนไลน์

อย่างไรก็ดีในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาติมหาอำนาจยุโรปเริ่มตระหนักถึงความอ่อนแอของจักรวรรดิออตโตมันมากขึ้น และเริ่มตั้งคำถามว่า ควรจะดำเนินการอย่างไรกับดินแดนภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน หากจักรวรรดิออตโตมันมีอันต้องล่มสลาย โดยไม่ให้ส่งผลกรทบต่อดุลยอำนาจในยุโรป ในศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิออตโตมันได้รับฉายาว่า เป็นคนป่วยแห่งยุโรป ฉายาดังกล่าว พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย เป็นผู้ตั้งในเชิงดูหมิ่นเหยียดหยามออตโตมัน ที่ได้เข้าร่วมสงครามไครเมีย (Crimea War) กับอังกฤษและฝรั่งเศส เพื่อต่อต้านรัสเซีย ในปี พ.ศ. 2397 (ค.ศ. 1854) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ซึ่งเสด็จเยือนจักรวรรดิออตโตมันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทรงวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมืองในช่วงนั้น โดยทรงวิเคราะห์ไว้ว่า แม้ว่าจักรวรรดิออตโตมันจะเสื่อมอำนาจ แต่ชาติตะวันตกก็ยังลังเลที่จะเข้ายึดครองดินแดนต่าง ๆ ที่เป็นเมืองขึ้นของเติร์กทั้งหมด เนื่องจากเหตุผล 2 ประการ

jumboslot

ในเทพปกรณัมกรีก เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส เป็นเทพเจ้าหลักของศาสนากรีกโบราณ โดยมากถือว่าประกอบด้วยซูส ฮีรา โพไซดอน ดิมีเทอร์ อะธีนา อะพอลโล อาร์ทิมิส แอรีส แอโฟรไดที ฮิฟีสตัส เฮอร์มีส และเฮสเตียหรือไดอะไนซัส บางครั้งรวมเฮดีสและเพอร์เซฟะนีเป็นส่วนหนึ่งของสิบสองเทพโอลิมปัสด้วย แต่โดยทั่วไปไม่นับเฮดีส เพราะพระองค์ประทับอย่างถาวรในโลกบาดาลและไม่เคยเสด็จเยือนยอดเขาโอลิมปัส บางครั้งนับรวมเฮราคลีสและอัสคลิปิอุสเช่นกันประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อนค.ศ. แต่ปัจจุบันเรื่องราวปรัมปราเหล่านี้ เราทราบจากวรรณกรรมกรีกโบราณทั้งสิ้น

slot